Faculty of Agricultural Technology: Recent submissions

  • นรินทร์ เจริญพันธุ์; เพราเพ็ญ รัตนดี; ชัยพร แพภิรมย์รัตน์ (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตสระแก้ว, 2560)
    การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากลำไยของกลุ่มเกษตรกรจังหวัดสระแก้ว วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาสภาวะและสูตรการผลิตที่เหมาะสมในการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารจากลำไย จากการนำลำไยสดมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารทั้งหมด 8 ชนิด คือ ลำไยอบแห้ง ...
  • ไกรยศ แซ่ลิ้ม; กัญญารัตน์ เหลืองประเสริฐ (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2563)
    แคนตาลูปเป็นผลไม้ที่นิยมนำมาบริโภคในรูปผลสดโดยไม่ผ่านกรรมวิธีใด ๆ แต่ถ้าไม่ได้รับการจัดการที่เหมาะสม ก็อาจกลายเป็นแหล่งปนเปื้อนของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ โดยเฉพาะเมื่อรับประทานอาหารดิบ งานวิจัยฉบับนี้ ...
  • ชนากานต์ ลักษณะ (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2564)
    ดินเค็มโซดิกเป็นดินที่มีปริมาณเกลือและ pH สูง พืชจึงเจริญเติบโตได้น้อยลง เมื่อพืชได้รับสภาพดินเค็มโซดิกยีนต่าง ๆ ทีเกี่ยวข้องจะมีการแสดงออกในรูปแบบและระดับที่แตกต่างกัน โดยระดับการแสดงออกของยีนจะถูกควบคุมด้วยกลุ่มของยีนท ...
  • สมคิด ใจตรง (คณะเทคโนโลยีการเกษตร. มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2560)
    ส่วนต่าง ๆ ของกล้วย เช่น ผล และปลี สามารถใช้เป็นอาหาร ในขณะที่ส่วนอื่น ๆ รวมทั้งใบ ลำต้นเทียม และเครือกล้วยกลายเป็นสิ่งเหลือทิ้ง งานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในกลุ่มสารประกอบฟีนอล คอนเดนซ์แทนนิน ไฮโดรไลซ์แทนนิน ...
  • ประทีป อูปแก้ว; นรินทร์ เจริญพันธุ์; กัญญารัตน์ เหลืองประเสริฐ; รังสรรค์ เจริญสุข; ศันสนีย์ จำจด (คณะเทคโนโลยีการเกษตร. มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2560)
    ข้าวพื้นเมืองเป็นพันธุ์ข้าวที่มีความแปรปรวนทางพันธุกรรมสูง แต่ละสายพันธุ์มีคุณสมบัติเฉพาะตัว เช่น ทนแล้ง ทนต่อโรคและแมลง เป็นต้น การปลูกข้าวพื้นเมืองพบในพื้นที่ของจังหวัดที่มีติดกับประเทศกัมพูชา แต่ปัจจุบันข้าวพื้นเมืองม ...
  • สุปรีณา ศรีใสคำ; พิพัฒน์ เหลืองลาวัณย์ (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2561)
    ศึกษาการใช้กากมันสำปะหลังหมักเป็นวัตถุดิบแหล่งพลังงานในอาหารข้นต่อกระบวนการหมักในรูเมนและสมรรถนะการผลิตของโคเนื้อบราห์มันลูกผสม การศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย 3 การศึกษาเบื้องต้น และ 1 การทดลอง คือ 1.1) การศึกษาเบื้องต้นถึงอ ...
  • อรสุรางค์ โสภิพันธ์; จตุพร วิทยาคุณ; เพียว ผาใต้; นวลละออง สระแก้ว (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2561)
    งานวิจัยนี้ศึกษาผลของวิธีการเติมโลหะเหล็กบนตัวรองรับซิลิกาจากเถ้าชานอ้อยเพื่อดูดซับสารปราบ วัชพืชไกลโฟเซต โดยนำเถ้าชานอ้อยเหลือทิ้งจากโรงงานน้ำตาลมาบำบัดด้วยวิธีทางความร้อนหรือวิธีทางเคมี จากนั้นใช้เป็นสารตั้งต้นในการเตรียมซิลิกา ...
  • เอกรัฐ คำเจริญ; สุปรีณา ศรีใสคำ (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2561)
    กากมันสำปะหลังเป็นวัสดุเศษเหลือจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังซึ่งสามารถใช้เป็น วัตถุดิบในสร้างผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่าผ่านกระบวนการหมัก กากมันสำปะหลังประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรตซึ่งสามารถเปลี่ยนเป็นน้ำตาลด้วยการไฮโดรไลซิสและนำไป ...
  • ไกรยศ แซ่ลิ้ม; กัญญารัตน์ เหลืองประเสริฐ; ศุภศิลป์ มณีรัตน์ (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2561)
    แคนตาลูปเป็นผลไม้ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจในจังหวัดสระแก้ว โดยมีการขายทั้งใน รูปแบบผลสดและตัดแต่ง ซึ่งวางขายทั่วไปในตลาดกลางแจ้ง ด้วยเหตุนี้คุณภาพและความปลอดภัยจึงขึ้นกับสภาพการเก็บรักษา ในการทดลองนี้ศึกษาคุณภาพทางกายภาพ ...
  • ชนากานต์ ลักษณะ; สนธิชัย จันทร์เปรม (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2561)
    CAX (Vacuoles Ca2+/H+antipoter) เป็นยีนที่ควบคุมให้เกิดการสมดุลของ Ca2+ เมื่อพืชอยู่ในสภาวะเค็มหรือความแห้งแล้ง ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาลาดับนิวคลีโอไทด์ของยีน CAX ในอ้อย 3 พันธุ์ พันธุ์การค้า KPS 94-13 ...
  • รัชนี พุทธา (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2560)
    การใช้ประโยชน์พื้นที่หลังนาก่อให้เกิดรายได้แก่เกษตรกร โดยการปลูกข้าวโพดฝักอ่อน ให้ผลผลิตเร็ว 45-60 วัน สามารถนาฝักอ่อน บริโภคสด และผลพลอยได้ ได้แก่ เปลือก ไหม และต้นข้าวโพด มาใช้เป็นอาหารสัตว์ได้พันธุ์ข้าวโพดฝักอ่อนเป็นป ...
  • ประทีป อูปแก้ว (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลับบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2562)
    การปลูกมันสำปะหลังร่วมกับพืชตระกูลถั่วเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเจริญเติบโต ผลผลิต ธาตุอาหารในดิน และศัตรูพืชในการปลูกมันสำปะหลังหลังแซมด้วยถั่ว โดยทดสอบ ...
  • ไพทูล แก้วหอม (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2562)
    ชานอ้อยเป็นเศษเหลือจากอุตสาหกรรมโรงงานน้ำตาลชนิดหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ เป็นอาหารสัตว์ได้ อย่างไรก็ตามก่อนการนำชานอ้อยมาใช้เป็นอาหารสัตว์นั้นชานอ้อยจำเป็นต้อง ได้รับการปรับปรุงคุณภาพเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนะเสียก่อน ...
  • รัชนี พุทธา (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2562)
    กล้วยเป็นแหล่งอินนูลินราคาถูกและรับประทานง่าย การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทำการศึกษา ปริมาณอินนูลินของเนื้อและเปลือกของผลกล้วย 6 พันธุ์ ที่มีโครโมโซม diploid triploid และ tetraploid ได้แก่ กล้วยน้ำไท (AA) ...
  • สุปรีณา ศรีใสคำ (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2562)
    การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกชนิดถั่วอาหารสัตว์ที่สามารถปรับตัวให้ผลผลิตได้ดีในจังหวัดสระแก้ว ที่มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว ระหว่างเดือน ตุลาคม 2561 ถึง กรกฎาคม 2562 เพื่อใช้เป็นพืชอาห ...
  • บังอร ประจันบาล (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2562)
    กล้วยที่มีความแตกต่างของจีโนมยังไม่เคยมีการรายงานเกี่ยวกับโปรตีน การศึกษาครั้งนี้จึงเปรียบเทียบรูปแบบของโปรตีนในใบกล้วยกลุ่ม ดิพลอยด์ ทริพลอยด์ และเตทตระพลอยด์ เพื่อบ่งชี้ความแตกต่างของโปรตีนที่สะสมในกล้วยแต่ละชนิด ...
  • ชนากานต์ ลักษณะ (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2562)
    CAX (Vacuoles Ca2+/H+antipoter) เป็นยีนที่ควบคุมให้เกิดการสมดุลของ Ca2+ เมื่อพืชอยู่ในสภาวะเค็มหรือความแห้งแล้ง ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน CAX ในอ้อย 3 พันธุ์ พันธุ์การค้า KPS 94-13 ...
  • เอกรัฐ คำเจริญ; จักรพงษ์ รัตตะมณี; ศิริลักษณ์ กมลวรรณสิทธิ์ (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2562)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤกษเคมีเบื้องต้น ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก ฟลาโวนอยด์และแทนนิน และกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระในสารสกัดหยาบจากส่วนใบและส่วนหน่อของไผ่ชนิดต่าง ๆ ในพื้นที่มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว จำนวน ...
  • ชนากานต์ ลักษณะ (คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว, 2562)
    อ้อยเป็นพืชที่ไม่ทนต่อดินเค็ม การปรับปรุงพันธุ์อ้อยให้ทนเค็มโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพจึงช่วยเพิ่มโอกาสที่จะประสบความสำเร็จได้มากขึ้นและเร็วขึ้น งานวิจัยนี้จึงประยุกต์เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในการคัดเลือกเซลล์อ้อยให้ท ...
  • สุปรีณา ศรีใสคำ (มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะเทคโนโลยีการเกษตร, 2562)
    การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์มุ่งเน้นการหาองค์ประกอบทางเคมี คุณสมบัติสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ (ปริมาณของฟีนอลิกทั้งหมด, สารประกอบฟีนอลิก, ฟลาโวนอยด์ทั้งหมด, สารประกอบฟลาโวนอยด์, ไอโซ-ฟลาโวน) และการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ โดยวิธี ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account