วันที่เผยแพร่ | ชื่อเรื่อง | ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน |
2563 | การผลิตเจลาตินไฮโดรไลเสตที่มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ ACE และต้านอนุมูลอิสระโดยใช้เอนไซม์ papain และเอนไซม์ bromelain | สามารถ สายอุต; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2563 | การประเมินศักยภาพการใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำขุมเหมืองเก่าในจังหวัดชลบุรีโดยใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ | ถนอมศักดิ์ บุญภักดี; พลอยสิรินทร์ แสงมณี; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2563 | การศึกษาทางเคมีและความหลากหลายทางชีวภาพของแอคติโนแบคทีเรียที่แยกได้จากดินในพื้นที่เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าเขาเขียว-เขาชมภู่ | ภรณี ศรีปรีชาศักดิ์; อนันต์ อธิพรชัย; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | ผลของความแตกต่างทางพันธุกรรมของเอนไซม์ CYP2A6 ที่มีต่อฤทธิ์ยับยั้งของสารสำคัญจากสมุนไพรทองพันชั่งและหญ้าดอกขาว | ทรงกลด สารภูษิต; พรพิมล รงค์นพรัตน์; เอกรัฐ ศรีสุข; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | การออกแบบการสังเคราะห์และศึกษาฤทธิ์การยับยั้งโคลีนเอสเทอเรสของอนุพันธ์ทริปทามีนเพื่อใช้รักษาโรคอัลไซเมอร์ | จเร จรัสจรูญพงศ์; อนันต์ อธิพรชัย; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | การประเมินศักยภาพของ 4-methoxycinnamyl 4-coumarate ที่แยกได้จากเหง้าเร่วหอมในการเป็นสารต้านอักเสบชนิดใหม่ | กล่าวขวัญ ศรีสุข; เอกรัฐ ศรีสุข; ณัฏฐกานติ์ จิรัณธนัฐ; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | การสังเคราะห์ที่รวดเร็วและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของสารกึ่งตัวนำไฟฟ้า CZTS ด้วยการฉายรังสีไมโครเวฟเพื่อนำไปใช้สำหรับเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ชนิดโค้งงอได้ | นรวิชญ์ ไกรนรา; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | ขั้นตอนทางชีวสารสนเทศสำหรับการค้นหาเครือข่ายที่ตอบสนองต่อการอักเสบในเซลล์แมคโครฟาจหนู | พิทักษ์ สูตรอนันต์; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | การคัดเลือกแคลลัสอ้อยทนแล้งและการชักนำให้เกิดต้นโดยใช้สาร polyethylene glycol ในสภาพหลอดทดลอง | ศิรศาธิญากร บรรหาร; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | การพัฒนาการผลิตวัคซีน Formalin killed cell เพื่อต้านเชื้อแบคทีเรีย Vibrio vulnificus ในปลากะพงขาวและปลากะรังในเชิงพาณิชย์ | ปภาศิริ บาร์เนท; มลฤดี สนธิ; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์; มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล |
2563 | โครงสร้างและคุณสมบัติเชิงเคมีของเนื้อเยื่อและเซลล์เข็มพิษในแมงกะพรุน Sanderia malayensis
และ Rhopilema hispidum และกลไกการปล่อยเข็มพิษ | สุทิน กิ่งทอง; แววลี โชคแสวงการ; ภาคภูมิ พระประเสริฐ; สุภัททา เฉื่อยฉ่่า; วิไลวรรณ พวงสันเทียะ, และอื่นๆ |
2562 | การปรับปรุงกระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ์อาหารย่อยสลายได้ทางชีวภาพจากใบและจุกสับปะรด | จุฬารัตน์ หงส์วลีรัตน์; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | การพัฒนากรรมวิธีการผลิตสาหร่ายพวงองุ่นอบแห้งคืนรูปเร็ว | สิริมา ชินสาร; นิสานารถ กระแสร์ชล; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | การผลิตและวิเคราะห์คุณภาพชาสาหร่ายพวงองุ่น | วิชมณี ยืนยงพุทธกาล; พิชญอร ไหมสุทธิสกุล; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | การผลิตสาหร่ายพวงองุ่นพร้อมบริโภคในรีทอร์ตเพาซ์ | ธีรารัตน์ อิทธิโสภณกุล; วิชมณี ยืนยงพุทธกาล; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | ชีวมวลของแพลงก์ตอนพืชขนาดต่าง ๆ และการวิเคราะห์รงควัตถุที่รวบรวมจากบ่อเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei) | จริยาวดี สุริยพันธุ์; วิชญา กันบัว; ชนัดดา เกตุมา; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | การพัฒนากระบวนการผลิตสาหร่ายพวงองุ่นในน้ำเกลือบรรจุขวด | วิชมณี ยืนยงพุทธกาล; ธีรารัตน์ อิทธิโสภณกุล; นิสานารถ กระแสร์ชล; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | การปรับปรุงผิวพลาสติกโดยเทคนิคลำพลาสมาที่ความดันบรรยากาศสำหรับประยุกต์เป็นวัสดุตกแต่ง | ธนัสถา รัตนะ; อรรถพล เชยศุภเกตุ; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | การเพิ่มมูลค่าเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนของชาใบขลู่เพื่อสุขภาพจากจังหวัดจันทบุรี
(ฤทธิ์ต้านมะเร็งของชาใบขลู่และกลไกที่เกี่ยวข้อง) | ผาณตา เอี้ยวซิโป้; ทรงกลด สารภูษิต; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
2562 | การวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพและเคมีจำเพาะของเนื้อผลสับปะรด | อรอง จันทร์ประสาทสุข; มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |