รายงานการวิจัย (Research Reports): Recent submissions

  • สยาม ยิ้มศิริ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555)
    การวิจัยนี้เป็นการศึกษาทดลองเบื้องต้นถึงผลกระทบของการไหลของน้ำใต้ดินและสภาวะน้ำขึ้นน้ำลงที่มีผลต่อการเคลื่อนตัวของน้ำมันดีเซลซึ่งจัดเป็น NAPL ชนิดที่มีความหนาแน่น้อยกว่าน้ำหรือ LNAPL (Light Non-Aqueous Phase Liquid) ...
  • โชคชัย ชื่นวัฒนาประณิธิ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2549)
    โครงการวิจัยนำเสนอการออกแบบและสร้างเครื่องต้นแบบอุปกรณ์ประหยัดพลังงานสำหรับมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับแบบเหนี่ยวนำ 3 เฟส โดยเครื่องจะทำการลดแรงดันไฟฟ้าที่ป้อนให้กับมอเตอร์อย่างเหมาะสมกับโหลดทางกลของมอเตอร์เพื่อการประหยัดพลังงานมอเตอร์ ...
  • สร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ; กมลชนก ปานสง่า; ณัฐนรินทร์ ศรีเอกกวีรัตน์; สรเพชร ภิญโญ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553)
    การทดสอบปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งที่พัฒนาในงานวิจัยนี้ ได้แก่แคลเซียมออกไซด์ (CaO(rt)), แคลเซียมออกไซด์เผาที่อุณหภูมิ 800 ºc (CaO(800ºc)), สตรอนเทียมออกไซด์ (SrO), 5% สตรอนเทียมออกไซด์บนแค ...
  • โชคชัย ชื่นวัฒนาประณิธิ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2549)
    โครงการวิจัยนี้นำเสนอการออกแบบและสร้างเครื่องต้นแบบเครื่องควบคุมการประจุแบตเตอรี่จากเซลล์แสงอาทิตย์ โดยเครื่องมีการติดตามจุดที่ให้กำลังไฟฟ้าออกสูงสุด ด้วยวิธีการ Hill Climbing Method และใช้ Fuzzy Logic เป็นตัวตันสินใจในก ...
  • สยาม ยิ้มศิริ; กษิณะ นันทสว่าง; บุรินทร์ โผนประสิทธิ์ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2551)
    โครงการวิจัยและพัฒนานี้แสดงผลการศึกษาการแตกของเม็ดดินจากการทดสอบการบดอัดดินในห้องปฏิบัติการ โดยทดสอบกับดินเม็ดหยาบที่มีขนาดคละและส่วนประกอบทางเคมีต่าง ๆ 8 ชนิด ซึ่งดินทั้งหมดมีแหล่งกำเนิดในภาคตะวันออกของประเทศไทย ...
  • วิทวัส แจ้งเอี่ยม (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2552)
    การศึกษาความสามารถในการย่อยสลายทางชีวภาพของสารลดแรงตึงผิวประจุลบในผงซักฟอกในสภาวะที่มีออกซิเจน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการย่อยสลายทางชีวภาพของสารลดแรงตึงผิวประจุลบในผงซักฟอกในสภาวะที่มีออกซิเจน และศึกษากลไกกา ...
  • อานุภาพ บุญส่งศรีกุล (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2547)
    โครงงานนี้เป็นการออกแบบ สร้างเครื่องทอดอาหารอัตโนมัติเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่ต้องการความเป็นอิสระไม่ต้องเสียเวลาในการทอด อีกทั้งป้องกันน้ำมันกระเซ็นสู่ผู้ทอด ไมโครคอนโทรลเลอร์ขนาด 8 บิตเบอร์ AT89C51 เป็นตัวควบคุม ...
  • เกษม พิพัฒน์ปัญญานุกูล; บัญชา อริยะจรรยา (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548)
    โครงการวิจัยและพัฒนานี้เป็นการศึกษาการรีไซเคิลกระป๋องอลูมิเนียม เริ่มจากการออกแบบและสร้างเตาหลอม ได้เตาหลอม 1 เตา เป็นรูปทรงกระบอก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 460 มิลลิเมตร สูง 465 มิลลิเมตร ใช้แก๊สหุงต้มเป็นเชื้อเพลิง ...
  • วิทวัส แจ้งเอี่ยม (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2552)
    งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์โดยใช้ไททาเนียมไดออกไซด์ ซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอนการศึกษาพฤติกรรมของเชื้อจุลินทรีย์ (E.coli), ขั้นตอนการศึกษาเวลาที่เหมาะสมในการส่องแสงอัลตราไวโอเลต (UV), ...
  • ศรีสุดา แซ่อึ้ง (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553)
    งานวิจัยนี้เป็นการสังเคราะห์วัสดุรูพรุนซิลิกาที่มีหมู่ฟังก์ชันบนผิวรูพรุน โดยหมู่ฟังก์ชันดังกล่าวคือหมู่เอมีน ซึ่งได้จากการทำปฏิกิริยาโคคอนเดนเซชันระหว่างสารตั้งต้น 2 ชนิด ได้แก่ tetraethoxysilane (TEOS) และ n-(2-aminoet ...
  • อลิษา สุขปิติ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553)
    การศึกษาวิจัยเรื่อง การประเมินระบบการจัดการศึกษาในหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา (4 หน่วยสอน) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระบบการจัดการศึกษาในหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ ...
  • อานนท์ วงษ์แก้ว (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548)
    โครงงานงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของคอนกรีตที่ถูกห่อหุ้มด้วยวัสดุไฟเบอร์พลาสติก เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับการเสริมกำลังคอนกรีตด้วยแผ่นไฟเบอร์ และนำเสนอวิธีการที่เหมาะสมและประหยัดในการเสริมกำลังโคร ...
  • พัทรพงษ์ อาสนจินดา (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553)
    โครงงานวิจัยนี้ทำการศึกษาการหาน้ำหนักรถบรรทุกขณะเคลื่อนที่บนสะพานจากสัญญาณความเครียดของสะพานเป็นข้อมูลในการคำนวณน้ำหนักรถบรรทุก การหาค่าน้ำหนักเพลาทางสถิตและน้ำหนักรวมของรถบรรทุกกระทำโดยสมมติให้ค่าน้ำหนักเพลามีค่าคงที่ตล ...
  • ศรีสุดา แซ่อึ้ง (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553)
    งานวิจัยนี้ศึกษาการสังเคราะห์วัสดุรูพรุนซิลิกาที่มีหมู่เอมีนเป็นฟังก์ชันด้วยวิธีการสังเคราะห์แบบโคคอนเดนเซชันระหว่างสารตั้งต้น 2 ประเภทคือ สารตั้งต้นประเภท alkoxysilane ซึ่งได้แก่ tetraethoxysilane (TEOS) และสารตั้งต้นประเภท ...
  • บรรหาญ ลิลา; จิรพงษ์ เฉลาธรรมาภรณ์; เฉลิมชัย ทรงวัฒนา; ชณิชา นาคนิลทอง (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550)
    การพัฒนาชุดสาธิตและทดสอบความแปรผันมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างเครื่องมือช่วยเหลือในการเรียนการสอนเรื่องความแปรผันทางคุณภาพเชิงวิศวกรรม ให้ผู้เรียนได้เห็นตัวอย่างของความผันแปร ซึ่งชุดสาธิตและทดสอบความผันแปรออกแบบโดยใช้หลัการของ ...
  • ชัยณรงค์ อุปเสน (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2552)
    ปัจจุบันการย่อยสลายขยะพลาสติกเพท (Polyethylene Terephthalate, PET) ที่ใช้ระยะเวลานานนับร้อย ๆ ปี ถือเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นในสังคม กระบวนการวิธีรีไซเคิลพลาสติก ชนิดนี้จึงถูกคิดค้นขึ้นมาด้วยหลากหลายวิธี เช่น ...
  • ทวีชัย สำราญวานิช; ปรัชญา จูเหล็ง; นัฐภา ภาระศรี; ณรงฤทธิ์ เย็นอารมณ์; เกศสุดา เลาอารีกิจ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2549)
    โครงการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาพลังงานการแตกร้าว และความคงทนของคอนกรีตผสมสารปอซโซลาน ซึ่งได้แก่ เถ้าลอยและตะกรันจากากรหลอมเหล็ก สำหรับการศึกษาพลังงานการแตกร้าวของคอนกรีต ได้ศึกษาส่วนผสมของคอนกรีตต่าง ๆ ...
  • วิเชียร ชาลี (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2551)
    งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการทำคอนกรีตบล็อกจากเถ้าเตา โดยตรงจากโรงงานผลิตกระดาษจังหวัดปราจีนบุรี โดยมีอัตราส่วนผสมของคอนกรีตบล็อกที่ใช้ในงานวิจัยนี้ทั้งหมด 13 ส่วนผสม แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มคอนกรีตบล็อกที่ผสมเถ้าก้นเตาละ ...
  • ทวีชัย สำราญวานิช; เดชบดินทร์ ศิริ; สิทธิชัย เพียรขุนทด; วิชิต พุฒิสันติกุล; วรรณวรางค์ รัตนานิคม (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2547)
    โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสัมประสิทธิ์การแพร่ของเกลือคลอไรด์ในซีเมนต์เพสต์ที่ผสมเถ้าลอย และหาสัดส่วนผสมคอนกรีตที่ต้านทานการแพร่ของเกลือคลอไรด์ที่ดี โดยได้ทำการหล่อตัวอย่างซีเมนต์เพสต์ทรงกระบอกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ...
  • วรเชษฐ์ ภิรมย์ภักดิ์ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2551)
    งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบ สร้าง และวิเคราะห์รถประหยัดน้ำมัน เพื่อเข้าร่วมการแข่งขัน”ฮอนด้าประหยัดเชื้อเพลิงครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2551” โดยในส่วนของโครงสร้างจะต้องมีความแข็งแรง ซึ่งจะเลือกใช้วัสดุเป็นเหล็ก ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account