DSpace Repository

Browsing รายงานการวิจัย (Research Reports) by Title

Browsing รายงานการวิจัย (Research Reports) by Title

Sort by: Order: Results:

  • สมรัฐ ทวีเดช; วิรชา เจริญดี; ชนะ เทศคง; ณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558)
    จากการสำรวจปลาแมนดารินในตลาดขายปลา เป็นระยะเวลา 24 เดือน ระหว่างเดือนมกราคม 2556 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2558 พบปลาแมนดารินชนิด Green Mandarinfish (Synchiropus splendidus) มีปริมาณนำเข้าเฉลี่ย 112 ตัวต่อเดือน ราคาต่อตัวอย่างประมาณ ...
  • แววตา ทองระอา; สุพจน์ ฐิตธรรมโม; รวิวรรณ สังขศิลา; วิไลวรรณ ต้นจ้อย (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2530)
  • ฉลวย มุสิกะ; วันชัย วงสุดาวรรณ; อาวุธ หมั่นหาผล; แววตา ทองระอา (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548)
    คุณภาพน้ำทะลในบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ตั้งแต่บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา จนถึงปากแม่น้ำตราด จังหวัดตราด ในเขตพื้นที่หลักการใช้ประโยชน์ชายฝั่งที่สำคัญของภาคตะวันออก รวม 76 สถานี ทำการศึกษาในช่วงฤดูแล้ง ...
  • ฉลวย มุสิกะ; วันชัย วงสุดาวรรณ; อาวุธ หมั่นหาผล; แววตา ทองระอา (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2549)
    คุณภาพน้ำทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ตั้งแต่ปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ถึงปากแม่น้ำตราด จังหวัดตราด รวมทั้งสิ้น 76 สถานี ครอบคลุมเขตการใช้ประโยชน์พื้นที่ต่าง ๆ กัน 7 เขต โดยศึกษา 2 ครั้ง คือ ในเดือนมีนาคม 2548 ...
  • ณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน; วิรชา เจริญดี; วิไลวรรณ พวงสันเทียะ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2556)
    ทดสอบระบบเลี้ยงปลาแมนดาริน (Synchiropus splendidus) โดยเปรียบเทียบสัดส่วนของพื้นที่ที่ผลิตอาหารธรรมชาติที่เกิดขึ้นภายในตู้เลี้ยงกับพื้นที่เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ปลาแทนดาริน โดยทดลองในตู้กระจกขนาดความหนาแน่น 1 คู่ต่อตู้ ในสัดส่วน ...
  • ณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน; วิรชา เจริญดี; วิไลวรรณ พวงสันเทียะ; ศิริวรรณ ชูศรี (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2557)
    การเลี้ยงปลาแมนดารินเพื่อให้มีการผสมพันธุ์วางไข่ได้ในที่กักขัง จำเป็นต้องจัดสภาพแวดล้อม และจัดหาอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของปลาเพราะระบบที่ดีสามารถช่วยรักษาสภาพแวดล้อมภายในตู้เลี้ยงให้เหมาะสมโดยมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมน้อย ...
  • ธิดารัตน์ น้อยรักษา; อมรรัตน์ ชมรุ่ง (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2539)
    การแยกแพลงก์ตอนพืชทะเล 30 ชนิด บริเวณหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี โดยทำให้แพลงก์ตอนพืชบริสุทธิ์ 2 วิธี คือ การใช้สารปฏิชีวนะร่วมกันระหว่าง เพนิซิลลิน จี สเตรปโตมัยซิน ซัลเฟต และคลอแรมฟีนิคัล ที่ระดับความเข้มข้นต่าง ๆ กัน ...
  • ธรรมศักดิ์ ถาพรพันธุ์; วรเทพ มุธุวรรณ; ณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน; อภิศักดิ์ เฮ่งพก (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553)
    กุ้งการ์ตูน (Hymenocera picta) เป็นกุ้งทะเลสวยงามที่อาศัยอยู่ในแนวปะการังซึ่งมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ ซึ่งปัจจุบันมีความต้องการในกลุ่มผู้เลี้ยงปลาทะเลสวยงามก็เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นหากสามารถพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงปลาการ ...
  • สุขใจ รัตนยุวกร; กรรณิกา ชัชวาลวานิช; พิสุทธิ์ มังกรกาญจน์; อมรา ทองปาน (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548)
    พ่อแม่พันธุ์ปลาการ์ตูนอานม้า Amphiprion polymus Linnaeu (1758) จากอ่าวไทยนำมาเลี้ยงในห้องปฎิบัติการ เพื่อเฝ้าสังเกตุพฤติกรรมการวางไข่ การเจริญและพัฒนาของตัวอ่อนพบว่าปลาการ์ตูนอานม้าสามารถวางไข่ได้ตลอดทั้งปี โดยมีวงจรสืบพันธุ์ทุก ...
  • สุขใจ รัตนยุวกร; กรรณิกา ชัชวาลวานิช; พิสุทธิ์ มังกรกาญจน์; อมรา ทองปาน (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2546)
    นำพ่อและแม่พันธุ์ปลาการ์ตูนอานม้า (Amphiprion polymnus Linnaeus (1758)) จากทะเล มาเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ ปลาการ์ตูนอานม้ามีวงจรการสืบพันธุ์ทุกๆ 14-21 วันและสามารถวางไข่ได้ตลอดปี ทำการเก็บตัวอย่างไข่ปลาตั้งแต่ได้รับการปฏิ ...
  • สุรพล ฉลาดคิด; ณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2536)
    การทดลองเปรียบเทียบการอนุบาลม้าน้ำวัยอ่อนด้วยอาหาร 3 ชนิด คือลูกกุ้งแชบ๊วย (Penaeys merguiensis), ไรน้ำเค็ม (Artemia pholnix) และแพลงก์ตอนจากทะเลโดยทดลองเลี้ยงเป็นระยะเวลา 90 วันพบว่าการเลี้ยงด้วยลูกกุ้งแชบ๊วยจะมีอัตรากา ...
  • จิตรา ตีระเมธี (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล. มหาวิทยาลัยบูรพา, 2536)
    การสำรวจการเปลี่ยนแปลงประชากรแพลงก์ตอนสัตว์ บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออกบริเวณแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี และบริเวณบ้านมาบตาพุด จังหวัดระยอง ระหว่างเดือนมกราคม 2532 ถึงเดือนธันวาคม 2532 พบตัวอย่างแพลงก์ตอนสัตว์ทั้งหมด 8 ไฟลัม ...
  • แววตา ทองระอา; ฉลวย มุสิกะ; วันชัย วงสุดาวรรณ; อาวุธ หมั่นหาผล (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548)
    การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจที่ดีขึ้นเกี่ยวกับ พฤติกรรม และเส้นทางเดินของสารปรอทในดินตะกอนและน้ำบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง โดยศึกษาการกระจายของสารปรอท ในน้ำและดินตะกอน ...
  • แววตา ทองระอา; ฉลวย มุสิกะ; วันชัย วงสุดาวรรณ; อาวุธ หมั่นหาผล (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2547)
    การศึกษาการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสารปรอทในดินตะกอนและน้ำบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดในปีแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการแพร่กระจายของสารปรอทในน้ำทะเลบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ศึกษาการแพร่กระจายของสารปรอทในดินตะตอน ...
  • จารุนันท์ ประทุมยศ; ณิษา สิรนนท์ธนา (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2556)
    กุ้งการ์ตูน (Hymenocerapicta, Dana 1852) เป็นกุ้งทะเลสวยงามที่มีมูลค่าในการซื้อขายสูงการขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความต้องการกรดไขมันของลูกกุ้งการ์ตูนเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้การเพาะเลี้ยงลูกกุ้งการ์ตูนประสบปัญหาการรอดตายต่ำ ...
  • วรเทพ มุธุวรรณ; ปรารถนา ควรดี; ชาญวิทย์ ศุภปัญญาพงศ์ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2536)
    การทดลองในครั้งนี้ได้แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกทำการศึกษาถึงความดกของไข่ (Fecundity) และความสัมพันธ์ของอัตราการฟักของลุกปูม้า กับน้ำหนักตัว ความกว้างและความยาวของกระดองปูม้า 1 แม่ จากการศึกษาพบว่า ความดกของไข่และอัตราการฟักของลูกปู ...
  • ทวี หอมชง; จารุนันท์ ประทุม; สุรพล ฉลาดคิด; วรเทพ มุธุวรรณ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2540)
    การเพาะเลี้ยงม้าน้ำชนิด Hippcampus kuda (Bleeker) ในห้องปฏิบัติการอัตราการรอดตายของลูกม้าน้ำต่ำมาก โดยเฉพาะสัปดาห์แรกของการเลี้ยง จากนั้นอัตราการรอดตายจะสูงขึ้น เมื่อม้าน้ำอายุได้ 1 เดือน อัตราการรอดตายอยู่ในช่วง 15.34-81.39 ...
  • เสาวภา สวัสดิ์พีระ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2531)
  • รัตนาภรณ์ ศรีวิบูลย์; ธิดารัตน์ น้อยรักษา; จิตรา ตีระเมธี; กิติธร สรรพานิช; จารุนันท์ ประทุมยศ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558)
    สาหร่าย Gracilaria fishii ที่ใช้ในการศึกษาจะถูกนำมาตัดเป็นท่อน ๆ ขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร แล้วนำมาเลี้ยงในอาหาร PES สภาพปลอดเชื้อ (axenic culture) โดยให้แสง สว่าง : มืด 16 : 8 ความเข้มแสง 25-27.6 μE. m-2 .s-1 ที่อุณหภูมิ ...
  • จารุนันท์ ประทุมยศ; ณิษา สิรนนท์ธนา; ศิริวรรณ ชูศรี; ธนกฤต คุ้มเศรณี (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2562)
    พฤติกรรมการกินดาวทะเลโดยเฉพาะดาวแดง (Linckia multifora) ของกุ้งตัวตลก (Hymenocera picta) เป็น อุปสรรคต่อการเพาะเลี้ยงในฟาร์มและต่อการขยายกิจการให้เป็นเชิงพาณิชย์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักคือ ผลิตอาหารสำเร็จรูปกุ้งตัว ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account