กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8781
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอุษณากร ทาวะรมย์
dc.contributor.authorชัยณรงค์ งามศิริอุดม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-06-06T04:25:09Z
dc.date.available2023-06-06T04:25:09Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8781
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตในการทำงาน 2) เพื่อศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรและ 3) เพื่อศึกษาความความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรในสำนักงานศุลกากรท่าเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรีกลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรในสำนักงานศุลกากรท่าเรือแหลมฉบัง จำนวน 204 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น และแบบง่ายเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามที่มีค่า Cronbach’alpha ด้านคุณภาพชีวิต ในการท างาน เท่ากบั 0.964 และด้านความผูกพันต่อองค์กร เท่ากบั 0.919 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรฯ โดยรวมอยู่ในระดับดี โดยคุณภาพชีวิตในการทำงานด้านความเป็นประโยชน์ต่อสังคมหรือเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคมมากที่สุด เป็นอันดับหนึ่ง รองลงมา คือ ด้านประชาธิปไตยในองค์กรและด้านการได้รับค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ตามลำดับ 2) ความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรฯโดยรวมอยู่ในระดับดี โดยความผูกพันในด้านความเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยายามอย่างมากเพื่อองค์กรมากที่สุด เป็นอันดับหนึ่งรองลงมา คือ ด้านความปรารถนาอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้ซึ่งความเป็นสมาชิกภาพในองค์กรและด้านความเชื่อและการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์กร ตามลำดับ 3) คุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรฯ มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีความสัมพันธ์ทิศทางบวกในระดับสูง (r = 0.71)
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectสำนักงานศุลกากรท่าเรือแหลมฉบัง
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงาน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรในสำนักงานศุลกากรท่าเรือแหลมฉบัง
dc.title.alternativeThe reltionship between qulity of work life nd orgniztionl commitment mong employees working for lemchbng port customs bureu
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was threefold. First, it aimed at investigating a level of quality of work life. Also, this study intended to examine a level of organizational commitment. The third purpose of this study was to determine the relationship between quality of work life and organizational commitment among personnel working for Laemchabang Port Customs Bureau. The subjects participating in this study were 204 personnel working for Laemchabang Port Customs Bureau. They were recruited by a stratified random sampling technique and a convenient sampling technique. The instrument used to collect the data was a questionnaire with Cronbach’s alpha for quality of work life at 0.964 and for organizational commitment at 0.919. The statistical tests used to analyze the collected data included percentage, arithmetic mean, standard deviation, and the test of Person Product Moment Correlation Coefficient. The results of this study revealed that, first, the level of quality of work life among the subjects was at a good level. Specifically, the aspect of quality of life in relation to social relevance or benefits of the work was rated at the highest level, followed by the aspects of democracy in the organization, fair and adequate compensation, respectively. Also, it was found that the level of organizational commitment among the subjects was at a good level. The aspect of organizational commitment relating to normative commitment was rated at the highest level by the subjects, followed by the aspects of continuance commitment, and affective commitment, respectively. Finally, a statistically significant relationship was found between quality of work life and organizational commitment among the subjects working for Laemchabang Port Customs Bureau. The relationship was positive and high (r=0.71).
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59930013.pdf3.43 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น