กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7880
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พูลพงศ์ สุขสว่าง | |
dc.contributor.advisor | เสรี ชัดแช้ม | |
dc.contributor.author | วีระ พุ่มเกิด | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:13:01Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:13:01Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7880 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีการค้นหาแบบนกกาเหว่าโดยการผสมผสานด้วยเจเนติกอัลกอริทึม (CSGA) สำหรับหาค่าที่เหมาะสมของการทำแห้งมะละกอแบบออสโมซิส และเปรียบเทียบประสิทธิภาพกับวิธีการค้นหาแบบนกกาเหว่า (CS) และวิธีพื้นผิวตอบสนอง (RSM) ดำเนินการศึกษา โดยนำวิธีการค้นหาแบบนกกาเหว่า (CS) ไปผสมผสานกับเจเนติกอัลกอริทึม แล้วทดสอบการทำงานของอัลกอริทึมด้วยฟังก์ชันมาตรฐาน Sphere Model, Schwefel’s Problem, Schwefel’s Problem, Schwefel’s Problem และ Generalized Rosenbrock’s Function หลังจากนั้นเปรียบเทียบค่าความคลาดเคลื่อนของค่าที่เหมาะสมที่ได้จากอัลกอริทึม CSGA, CA และ RSM กับค่าที่ได้จากการทดลองทำแห้งมะละกอโดยใช้แผนการทดลองแบบบอกซ์-เบนเคน ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. วิธีการค้นหาแบบนกกาเหว่าโดยการผสมผสานด้วยเจเนติกอัลกอริทึม (CSGA) สำหรับหาค่าที่เหมาะสมของการทำแห้งมะละกอแบบออสโมซิส เป็นกระบวนการค้นหาชุดคำตอบของ ตัวแปร , C และ T ที่ทำให้ค่า SG และ WL เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดจากสมการ SG = a+b1+b2C+b3T + b42+ b5C2 + b6T2+ b7xC + b8xT + b9CxT + b10xCxT และ WL = c+w1+w2C+w3T + w42+ w5C2 + w6T2+ w7xC + w8xT + w9CxT + w10xCxT โดยใช้หลักการสุ่มชุดคำตอบที่เกิดจากการผสมชุดคำตอบตั้งต้นที่มีค่าใกล้เคียงกับเกณฑ์ ที่กำหนดเพื่อให้ได้ชุดคำตอบที่เป็นไปได้ทั้งหมด จากนั้นคัดเลือกชุดคำตอบของตัวแปร , C และ T ที่ทำให้ค่า SG มีค่าเข้าใกล้ 4.0 และ WL มีค่าสูงสุด 2. วิธี CSGA ที่พัฒนาขึ้น มีค่าเฉลี่ยเวลาในการค้นหาชุดคำตอบได้รวดเร็วกว่าวิธี CS ทั้ง 5 ฟังก์ชัน โดยวิธี CSGA มีประสิทธิภาพและค่าร้อยละของความคลาดเคลื่อนดีกว่าวิธี CS และวิธี RSM 3. ค่าที่เหมาะสมของการทำแห้งมะละกอแบบออสโมซิส คือ = 60 oBrix, C = 42 oc และ T = 6 Hrs จะทำให้การทำแห้งมะละกอมีประสิทธิภาพสูงสุดที่ SG = 4.0, WL = 33.7 และ ร้อยละของความคลาดเคลื่อนประมาณ 0.04 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | จีเนติกอัลกอริทึม | |
dc.subject | มะละกอ -- การเก็บและรักษา | |
dc.subject | ออสโมซิส | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา | |
dc.title | การพัฒนาวิธีการค้นหาแบบนกกาเหว่าโดยการผสมผสานด้วยเจเนติกอัลกอริททึมสำหรับค่าที่เหมาะสมของการทำแห้งมะละกอแบบออสโมซิส | |
dc.title.alternative | Development of cuckoo serch by hybrid with genetic lgorithm for ppy osmosis dehydrtion optimiztion | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The goals of this research were to develope a cuckoo search by hybrid with genetic algorithm (CSGA) for papaya osmosis dehydration optimization and compare the performance of cuckoo search (CS) algorithm and response surface method (RSM). The study were hybrided cuckoo search with genetic algorithm and tested by benchmark functions; Sphere Model, Schwefel's Problem, Schwefel's Problem, Schwefel's Problem, and Generalized Rosenbrock's Function. Then, compare the error of the optimize values obtained from the CSGA, CA and RSM algorithms with the values obtained from the papaya drying experiments by using the Box-Benken experimental. The results were as follows: 1. The hybrid of cuckoo search with genetic algorithm (CSGA) for papaya osmosis dehydration was derived from the responses to the search for , C, and T variables was used to define the criteria of WL and SG according to the specified principles from these quadratic equations. SG = a + b1+ b2C + b3T + b42+ b5C2 + b6T2+ b7xC + b8xT + b9CxT + b10xCxT and WL = c+w1+w2C+w3T + w42+ w5C2 + w6T2+ w7xC + w8xT + w9CxT+ w10xCxT This method was accomplished by sampling the optimizing values by selecting those closest to the specified principles in order to get all possible values. Then the sampling of the values of the variables; , C, and T, which were close to 4.0 was done, with WL at the highest rate and SG at the closest 4. 2. CSGA showed greater speed in searching answers than CS with all five functions. Moreover, CSGA had a lower error value rate than CS and RSM. 3. The optimized values for papaya osmosis dehydration were = 60 oBrix, C =42 oc, and T = 6 Hrs. The highest performance of papaya osmosis dehydration were at SG = 4.0 and WL = 33.7; the error value was 0.04. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา | |
dc.degree.name | ปร.ด. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 5.83 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น