กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7288
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorรัชนี แตงอ่อน
dc.contributor.authorณรงพจสธร การุณย์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:42:59Z
dc.date.available2023-05-12T03:42:59Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7288
dc.descriptionงานนิพนธ์ (น.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractสารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการริบทรัพย์สินของผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ตามพระราชบัญญัติมาตรการป้องกันและปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พุทธศักราช 2534 ในกรณีผู้ต้องหาหรือจำเลยหลบหนีหรือผู้ต้องหาหรือจำเลยถึงแก่ความตายโดยศึกษาวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายเพื่อรองรับการริบทรัพย์สินในคดีที่ผู้ต้องหาหลบหนีหรือตาย และแนวทางการปรับปรุงกฎหมายของทรัพย์สินที่ดำเนินการยึดทรัพย์สินตามมาตรา 32 วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว มีความสอดคล้องรองรับการพัฒนานำทางกฎหมาย ขบวนการค้ายาเสพติด และหลักสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้จะได้ศึกษาเปรียบเทียบกับแนวความคิด ทฤษฎี และกฎหมายการยึดทรัพย์สินและการฟอกเงินทั้งในและต่างประเทศ ผลการศึกษาปัญหากรณีการที่ผู้ต้องหาหรือจำเลยที่หลบหนีการจับกุมมีการจำหน่ายคดีชั่วคราวหรือถึงแก่ความตายที่คดีเป็นการระงับ แต่ภายหลังมีการพิสูจน์ฐานความผิดในคดียาเสพติดว่าเป็นผู้กระทำความผิดหรือไม่รวมถึงการริบทรัพย์สินของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของซึ่งไม่รู้เห็นเป็นใจแต่ไม่ได้เข้ามาโตแย้งสิทธิภายในกรอบของกฎหมายหากภายหลังจับกุมตัวผู้ต้องหาได้ศาลพิพากษาในคดีอาญายกฟ้องถือเป็นการปิดโอกาสในการโต้แย้งสิทธิซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับหลักกฎหมายและแนวทางของต่างประเทศควรกำ หนดขั้นตอน ระยะเวลาการประกาศหนังสือพิมพ์ในการโต้แย้งสิทธิให้ชัดเจน และผ่านกระบวนการทางศาลเพื่อเป็นการถ่วงดุลทางกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางในการศึกษาปรับปรุงกฎหมายที่บังคับใช้ต่อไป ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงเห็นว่า การที่นำมาตรา 32 วรรคสอง เข้าสู่กระบวนการพิจารณาของศาล จะเกิดความเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย ซึ่งก็จะนำมาซึ่งการยกเลิกมาตรา 32 วรรคสองและมีแต่คดีที่ผ่านการพิจารณาของศาลตามมาตรา 32 วรรคแรกในการปรับปรุงกฎหมายต่อไป
dc.language.isoth
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการควบคุมยาเสพติด
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายอาญาและอาชญาวิทยา
dc.subjectยาเสพติด -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
dc.subjectพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534
dc.titleปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายในการดำเนินการตามพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พุทธศักราช 2534 ศึกษากรณีมาตรา 32 วรรคสอง
dc.title.alternativeLegl problemtic on the enforcement of ct on mesures for the suppression of offenders in n offence relting to nrcotics, B.E. 2534 :b cse study of rticle 32 pr 2
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to examine the enforcement of article 32, paragraph 2 of the Act on Measures for the Suppression of Offenders in an Offence Relating to Narcotics, B.E. 2534 focusingon offender’s properties seizure in the case that the alleged offender or the accused cannot be arrested or owed to death. The focuses of this study areon the problematical legal issues in coping with the properties seizure and to propose a guideline for the revision of the law instituting the seized properties owing to the specified measure to better align with legal development, narcotic trade, and human rights. For so doing, concepts, theories, and laws related to properties seizure and money laundry both domestically and overseas were reviewed. The study of the problematic legal issue in the case where the alleged offender or the accused cannot be arrested or in case of death which causes temporary dispose of the case but he/she is proved later being guilty of the crime or having seized property of other or possessed by other without proprietor’s connivance and he/she does not argue under jurisdiction; after the accused is arrested and the case is dismissed, this shall be considered depriving an opportunity to argue. When reviewing foreign law and practice, I suggest that process, timeframe, and argument of right should be clearly specified and advertised in the newspaper. All of the aforementioned procedure should be proved by the juridical bodies so that they will be able to effectively balance rights of the involved parties and become a guideline for legal study and law revision. Therefore, the researcher suggests that enforcement of the Article 32 Paragraph 2 of studied law leads to fair practice for all involved parties. However, up the present only Article 32 Paragraph 1 has been applied. This leads to cancellation of Article 32Paragraph 2.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineกฎหมายอาญาและอาชญาวิทยา
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.71 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น