กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6133
ชื่อเรื่อง: ผลของมุมสัมผัสหยดน้ำบนกระจกสไลด์ที่ปรับสภาพด้วยพลาสมาเจ็ทระบบความดันบรรยากาศ
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The effect of wter contct ngle on glss slide treted by tmospheric pressure plsm jet
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: อรรถพล เชยศุภเกตุ
นันท์นริญ พิสิฐรัชต์
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาฟิสิกส์ศึกษา
กระจก
พลาสมา (ก๊าซที่เป็นประจุ)
กระจก -- พื้นผิว
วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
วันที่เผยแพร่: 2560
สำนักพิมพ์: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
บทคัดย่อ: การศึกษาผลของมุมสัมผัสหยดน้า บนกระจกสไลด์ที่ปรับสภาพพื้นผิวด้วยพลาสมาเจ็ท ระบบความดันบรรยากาศ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเงื่อนไขการปรับสภาพพื้นผิวด้วยพลาสมาเจ็ท ระบบความดันบรรยากาศที่มีผลต่อมุมสัมผัสของหยดน้า บนกระจกสไลด์ ลักษณะทางสัณฐาน วิทยาและองค์ประกอบทางเคมีของกระจกสไลด์หลังการปรับสภาพพื้นผิว ศึกษาโดยใช้เครื่อง กาเนิดคลื่นความถี่วิทยุ เป็ นตัวสร้างพลาสมาที่เงื่อนไขดังนี้ กระแสไฟฟ้ า 300 mA ความต่างศักย์ไฟฟ้ า 80 V ผลการศึกษาพบว่ามุมสัมผัสหยดน้า เฉลี่ยก่อนปรับสภาพมีค่าเท่ากับ 24.7° หลังจากปรับสภาพมุมสัมผัสหยดน้า มีค่าลดลงอย่างมาก เฉลี่ยเท่ากับ 1.4°-6.3° โดยอัตรา การไหลของแก๊สอาร์กอนที่เหมาะสมคือ 5 L/min ระยะห่างระหว่างหัวฉีดเจ็ทกับกระจกสไลด์ ที่เหมาะสมคือ 15 mm เมื่อนาเงื่อนไขที่เหมาะสมที่สุดมาใช้ในการปรับสภาพพื้นผิวของ กระจกสไลด์แล้วเพิ่มแก๊สออกซิเจนเข้าไป พบว่า อัตราการไหลของแก๊สออกซิเจน 3 L/min ทา ให้ มุมสัมผัสหยดน้า มีค่าลดลง สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ด้วยเครื่อง FTIR ที่แสดงให้เห็นถึง การเพิ่มขึ้นของหมู่ฟังก์ชันออกซิเจน ซึ่งทา ให้พื้นผิวของกระจกสไลด์เกิดสภาพชอบน้า ยิ่งยวด
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
URI: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6133
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
57920077.pdf3.03 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น