กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6133
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรถพล เชยศุภเกตุ | |
dc.contributor.author | นันท์นริญ พิสิฐรัชต์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:25:50Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:25:50Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6133 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การศึกษาผลของมุมสัมผัสหยดน้า บนกระจกสไลด์ที่ปรับสภาพพื้นผิวด้วยพลาสมาเจ็ท ระบบความดันบรรยากาศ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเงื่อนไขการปรับสภาพพื้นผิวด้วยพลาสมาเจ็ท ระบบความดันบรรยากาศที่มีผลต่อมุมสัมผัสของหยดน้า บนกระจกสไลด์ ลักษณะทางสัณฐาน วิทยาและองค์ประกอบทางเคมีของกระจกสไลด์หลังการปรับสภาพพื้นผิว ศึกษาโดยใช้เครื่อง กาเนิดคลื่นความถี่วิทยุ เป็ นตัวสร้างพลาสมาที่เงื่อนไขดังนี้ กระแสไฟฟ้ า 300 mA ความต่างศักย์ไฟฟ้ า 80 V ผลการศึกษาพบว่ามุมสัมผัสหยดน้า เฉลี่ยก่อนปรับสภาพมีค่าเท่ากับ 24.7° หลังจากปรับสภาพมุมสัมผัสหยดน้า มีค่าลดลงอย่างมาก เฉลี่ยเท่ากับ 1.4°-6.3° โดยอัตรา การไหลของแก๊สอาร์กอนที่เหมาะสมคือ 5 L/min ระยะห่างระหว่างหัวฉีดเจ็ทกับกระจกสไลด์ ที่เหมาะสมคือ 15 mm เมื่อนาเงื่อนไขที่เหมาะสมที่สุดมาใช้ในการปรับสภาพพื้นผิวของ กระจกสไลด์แล้วเพิ่มแก๊สออกซิเจนเข้าไป พบว่า อัตราการไหลของแก๊สออกซิเจน 3 L/min ทา ให้ มุมสัมผัสหยดน้า มีค่าลดลง สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ด้วยเครื่อง FTIR ที่แสดงให้เห็นถึง การเพิ่มขึ้นของหมู่ฟังก์ชันออกซิเจน ซึ่งทา ให้พื้นผิวของกระจกสไลด์เกิดสภาพชอบน้า ยิ่งยวด | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาฟิสิกส์ศึกษา | |
dc.subject | กระจก | |
dc.subject | พลาสมา (ก๊าซที่เป็นประจุ) | |
dc.subject | กระจก -- พื้นผิว | |
dc.subject | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน | |
dc.title | ผลของมุมสัมผัสหยดน้ำบนกระจกสไลด์ที่ปรับสภาพด้วยพลาสมาเจ็ทระบบความดันบรรยากาศ | |
dc.title.alternative | The effect of wter contct ngle on glss slide treted by tmospheric pressure plsm jet | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The study of the effect of water contact angle on glass slide treated by atmospheric pressure plasma jet. This research aimed at study the condition of atmospheric-pressure plasma jet for surface modification on the effect to water contact angle on glass slides, surface morphology of glass slides and chemical composition by using radio frequency generator to produce plasma gas, as current is 300 mA, voltage is 80 V. This study found that before treating water contact angle by plasma jet averaged 24.7° and after treating water contact angle extremely decrease, averaged 1.4°-6.3°. Appropriate rate of Argon flowing is 5 L/min and the nozzle to surface gap is 15 mm. When the most appropriate condition was used for surface modification of glass slides and added oxygen, I found that rate of oxygen flowing is 3 L/min that made water contact angle on glass slides decrease. This study conform to analysis of FTIR that indicated about increasing oxygen bond made glass slides became superhydrophilic. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | ฟิสิกส์ศึกษา | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
57920077.pdf | 3.03 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น