DSpace Repository

การศึกษาและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์การแกะสลักหินของท้องถิ่นภาคตะวันออกตอนล่าง

Show simple item record

dc.contributor.author สุชาติ เถาทอง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:45:48Z
dc.date.available 2019-03-25T08:45:48Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/98
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง การศึกษาและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์การเกาะสลักหินของท้องถิ่นภาคตะวันออกตอนล่าง (STUDIES ON THE DEVELOPMENT OF THE PATTERN OF ROCK CARVING ON THE LOWER EASTERN REGION) เป็นการวิจัยผสมผสานระเบียนวิธีวิจัย (Combined Research) มีการศึกษาจากการสำรวจภาคสนาม เอกสารทางประวัติศาสตร์ และสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องให้ทราบถึง งานเกาะสลักหินของท้องถิ่นภาคตะวันออกตอนล่าง มีจุดเริ่มต้นโดยชาวจีนที่แหลมแท่น ตำบลแสนสุข (หนองมนเดิม) จังหวัดชลบุรี ในตอนปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นได้แพร่หลายไปที่ตำบลอ่างศิลา ตำบลเสม็ด ตำบลหนองรี ตำบลบ้านสวน และตำบลบ้านบึงตามลำดับงานเกาะสลักหินระยะแรกเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับใช้สอยในครัวเรือน และประกอบพิธีทางความเชื่อของชาวจีนเดิม ได้แก่ โม่ และ ป้ายฮวงซุ้ย ต่อมาจึงพัฒนารูปแบบงานเกาะสลัก เป็นครก ลูกนิมิต ใบเสมา ตามแบบวิธีไทย อีกทั้งรูปแบบทำขึ้นส่วนใหญ่ ได้รับการสืบทอดจากบรรพบุรุษ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในทางกรรมวิธี และกลวิธี ช่างส่วนมากจะกระทำตามๆกันด้วยรูปแบบคล้ายๆกันการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์การแกะสลักหินควรมีวิธีดำเนินการเป็น 2 แนว คือ ประการแรก อนุรักษ์ สืบสานรูปแบบดั้งเดิม ประการที่สอง ถ่ายทอดและพัฒนารูปแบบใหม่ โดยอาศัยวิธีการวิจัยและพัฒนา เข้ามาช่วยให้เกิดผลสัมฤทธิ์เพื่อนำไปสู่การพัฒนาจริงได้ กับทั้งขจัดปัญหาและอุปสรรค์ที่มีผลต่อการพัฒนารูปแบบ ได้แก่ การออกแบบ วัสดุช่าง เครื่องมืออุปกรณ์ รวมถึงการวิจัยแบบเฉพาะทางเป็นอาทิ ให้ปัจจัยข้างต้นมีส่วนสนับสนุน เกื้อกุล การพัฒนารูปแบบให้เจริญก้าวหน้า ทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและยุคโลกาภิวัฒน์ ทั้งนี้ผลสำเร็จจะเกิดขึ้นได้มากน้อยเพียงใด ไม่ได้อยู่ที่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง แต่ขึ้นอยู่กับทุกปัจจัยที่บูรณาการเข้ามาด้วย th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การแกะสลักหิน - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัย th_TH
dc.subject ประติมากรรมหิน - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัย th_TH
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ - - วิจัย th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.title การศึกษาและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์การแกะสลักหินของท้องถิ่นภาคตะวันออกตอนล่าง th_TH
dc.title.alternative Studies on the development of the pattern of rocl carving on the Lower Eastern Region en
dc.type Research th_TH
dc.year 2547
dc.description.abstractalternative This was a combined research conjoining of field trip study , documentary study and interview the investigate the local rock carving in the eastern region . It was found that the original location was the Chinese community settling at Laem Tan , Saen Suk Sub -district (former Nong Mon), Chonburi Province around the end of the reign of King Rama the Fifth. Then, the carving was respectively extended extended to Ang -Sila , Samed , Nong Ree , Ban Bung , Sub -districts.Prior rock carving was intentionally for kitchenware and Chinese-believed subjects such as millstone and memorial name post in front of tombs. Then the forms of carving were changed to be mortar , and other Buddhism ritual objects; Moreover , almost of the forms and styles were derived from their ancestors without changing in the detail and process.In conclusion , rock carving product should be improved in two streams ; conservative and renovate using research and development approaches to make to these two streams practical. In addition , the obstacles, affecting product modernization such as design . material. Equipment and specific study would also be eliminated by those approaches. After applying those approaches into the production process , the product's form should be compatible with the changing world and globalization. Nevertheless, how effective the outcome derived from all merged. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account