dc.contributor.author |
สุชาติ เถาทอง |
th |
dc.contributor.author |
ชัยยศ วนิชวัฒนานุวัติ |
th |
dc.contributor.author |
นพดล ใจเจริญ |
th |
dc.contributor.author |
อรอนงค์ เถาทอง |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:54:48Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:54:48Z |
|
dc.date.issued |
2546 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/869 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัย เรื่อง สถาปัตยกรรมรัชกาลที่ 3 ในมณฑลการปกครองของภาคตะวันออก เป็นการวิจับเชิงประวัติศาสตร์ พร้อมไปศึกษา สถาปัตยกรรมประเภทอาคาร/เรือน ร่วมสมัยที่มีหลักฐานปรากฏในมณฑลเทศาภิบาล ปราจีน และ จันทบุรี ในช่วงเวลาเดียวกัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2437 – 2453 โดยศึกษาจากการสำรวจภาคสนาม เอกสารทางประวัติศาสตร์ เอกสารอื่นๆ ภาพถ่ายเก่า และ การ สัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบถึง สถาปัตยกรรมรัชกาลที่ 5 มีการปลูกสร้างกันมากในเขตศูนย์กลางที่ตั้งมณฑล และ บริเวณใกล้เคียง ในระยะแรกตัวอาคาร/เรือน มักนิยมสร้างหันหน้าออกสู่แม่น้ำตามเส้นทางสัญจรสายหลักมาแต่เดิม เช่น แม่น้ำบางปะกง และ แม่น้ำจันทบุรี ต่อเมื่อระบบการวางผังเมืองได้เริ่มมีบทบาทต่อการจัดการพื้นที่ของมณฑลทั้งสอง มีผลให้การวางตำแหน่งของตัวอาคาร/เรือน บนผังบริเวณที่ต้องหันไปหาแนวถนนแทน อีกทั้งมีการจัดแบ่งเขตระหว่างที่พักอาศัย และ เขตสถานที่ราชการจากกันอย่างเป็นระบบ มีแบบแผน
รูปแบบสถาปัตยกรรมประเภทอาคารสาธารณะ บ้านพักข้าราชการ มีการก่อสร้างตามแบบอิทธิพลตะวันตกเป็นจำนวนมาก และอาศัยแบบอย่างมาจากเมืองหลวง มีผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมเป็นส่วนใหญ่ และพื้นที่ใช้สอยในตัวอาคาร/ เรือน มีการแบ่งกั้นเป็นห้องๆ ในขณะที่เรือนสามัญชน และอาคารทางศาสนายังดำรงลักษณะไทยแบบตามประเพณีไทยท้องถิ่นไว้ ถึงแม้มีอิทธิพลในองค์ประกอบส่วนรองของสถาปัตยกรรมแบบท้องถิ่น ในมณฑลปราจีน และมณฑลจันทบุรี มีการผสมผสานกับวัฒนธรรมต่างชาติเป็นทุนเดิมอยู่แล้วบ้างแล้ว อิทธิพลตะวันตกที่เข้ามาเสริมใหม่ยิ่งช่วยสรรสร้างพหุลักษณ์ของสถาปัตยกรรมรัชกาลที่ 5 ในสองมณฑลให้แจ่มชัดขึ้น มีทั้งความเหมือนและความแตกต่าง |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดินงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2546 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ภูมิศาสตร์มนุษย์ - - ไทย (ภาคตะวันออก) |
th_TH |
dc.subject |
สถาปัตยกรรม - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - กรุงรัตนโกสินทร์ - - รัชกาลที่ 5 |
th_TH |
dc.subject |
สถาปัตยกรรมไทย |
th_TH |
dc.subject |
สาขาปรัชญา |
th_TH |
dc.title |
สถาปัตยกรรมรัชกาลที่ 5 ในมณฑลการปกครองของภาคตะวันออก |
th_TH |
dc.title.alternative |
The architectural style in the reign of King Rama V appearing in the provinces of Eastern region |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2546 |
|
dc.description.abstractalternative |
This historical research was emphasized on the architectural styles in the reign of King Rama V, appearing in the provinces of eastern region of Thailand, together with, the styles of contemporary constructions, witnessed in Prachin and Chantaburi provinces during 1894-4910. The approaches for this study were field exploration, historical document, and other related papers including photographs, and interview.
The outcome of this research showed that the architectural style in the reign of King Rama V was greatly popular in the central region and adjacent provinces. Initially, the constructions were designed to front the main water ways such as Bangpakong and Chantaburi rivers, but later, after the urban planning had played an important role in area managing in both provinces, the buildings were instead to front the main roads. Moreover, residential area and governmental organization area were systematically separated.
The architectural styles of public and official’s resident in the studied regions were mostly influenced by western architectural and partially copied from the capital. The land shape was mostly rectangular and the interior spacing was partitioned into rooms while most of the people’s houses and religion sites were constantly preserved traditional Thai and local architectural styles. Even the influence of western style had affected second element, the main element of the construction were built following the local architectural style; in contrast, the influence western architectural style also furthered the local style to be more outstanding. Heretofore, the local architectural style in Prachin and Chantaburi provinces were partially mixed by the foreign architectural; therefore, the new coming ripple of western style architecture interestingly enlightened the multi-image of the architectural style in the reign of King V with its similarity and difference. |
en |