dc.contributor.author |
ภรดี พันธุภากร |
th |
dc.contributor.author |
เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์ |
th |
dc.contributor.author |
เทพศักดิ์ ทองนพคุณ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:51:57Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:51:57Z |
|
dc.date.issued |
2539 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/566 |
|
dc.description.abstract |
การดำเนินงานของโครงการนำร่องในการผลิตของที่ระลึกเซรามิกส์ชลบุรี เพื่อที่จะศึกษาและทดลองเกี่ยวกับดินที่ใช้ในการผลิตอิฐและกระเบื้องดินเผา ซึ่งเป็นธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดเล็กที่มีมาแต่เดิมในเขตพื้นที่จังหวัดชลบุรี ได้แก่ ดินพานทอง และดินบางคล้า โดยดินทั้ง 2 แหล่งนั้นมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกันคือ เป็นดินที่มีความเหนียว เนื้อค่อนข้างหยาบ เมื่อนำมาเผาในอุณหภูมิ 1200 องศาเซลเซียส ในบรรยากาศแบบออซิเดชั่น (Oxidation Firing) จะได้เนื้อดินสีน้ำตาลแดง มีอัตราการดูดซึมน้ำ 6-10 เปอร์เซ็นต์ มีอัตราการหดตัวประมาณ 6 เปอร์เซ็นต์ โดยได้นำดินทั้ง 2 แหล่ง มาทดลองปรับคุณสมบัติเพื่อให้เกิดความเหมาะสมต่อวิธีการขึ้นรูป เหมาะสมต่อรูปแบบผลิตภัณฑ์ มีความสวยงามและสามารถนำมาเคลือบผิวได้ โดยนำดินดังกล่าวมาปรับคุณสมบัติด้วยการผสมวัตถุดิบอื่น ๆ ในอัตรส่วนดังนี้
กินพานทองหรือดินบางคล้า 40-60%
ดินดำปราจีน 20-40%
หินฟันม้า 20-40%
ดินเหลืองปราจีน 0-10%
จากการปรับคุณสมบัติของวัตถุดิบตามสัดส่วนดังกล่าว ทำให้ได้เนื้อดินที่ละเอียดขึ้น มีความเหนียว สีน้ำตาลอมเหลือง มีอัตราการดูดซึมน้ำประมาณ 0-7 เปอร์เซ็นต์ มีอัตราการหดตัวประมาณ 8-15 เปอร์เซ็นต์ โดยดินพานทองหรือดินบางคล้า จะเป็นวัตถุดิบหลักและสามารถพิจารณาเลือกใช้ดินดำหรือดินผสมสำเร็จรูปแทนได้ ส่วนหินฟันม้าจะช่วยให้เนื้อดินหลอมเป็นเนื้อเดียวกัน มีความมันในเนื้อดิน ทั้งช่วยลดความเหนียวของเนื้อดิน ซึ่งดินผสมดังกล่าวสามารถนำมาขึ้นรูปได้ด้วยการปั้นด้วยมือ ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ขึ้นนรูปด้วยการอัดดินจากพิมพ์ และขึ้นรูปด้วยวิธีการจิกเกอร์ แม้แต่การหล่อน้ำดิน แต่ทั้งนี้การหล่อน้ำดินจะต้องใช้ดินพื้นบ้านในปริมาณที่น้อยลงและทำการกวนและกรองดินที่ดีขึ้น
ในการดำเนินงานของโครงการนำร่องนี้ ได้ทดลองทำผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกจากเนื้อดินผสมดังกล่าว เพื่อเป็นแนวทางเป้นแบบอย่าง ด้วยวิธีการขึ้นรูปแบบต่าง ๆ เพื่อทดลองจำหน่ายและทำการเผยแพร่ข้อมูลนำมาเสนอผลิตภัณฑ์แก่บุคคลโดยทั่วไป ทั้งได้แจกจ่างผลิตภัณฑ์และเผยแพร่ข้อมูลในรูปของเอกสาร แผ่นพับ ตลอดจนนำเสนอข้อมูลผ่านสื่อมวลชนด้วยหนังสือพิมพ์และวารสาร รวมทั้งหน่วยงานราชการต่าง ๆ ที่อาจมีส่วนเกี่ยวข้อง |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สนับสนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดินปะจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2539 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ของที่ระลึก - - ชลบุรี |
th_TH |
dc.subject |
เครื่องเคลือบดินเผา |
th_TH |
dc.subject |
อุตสาหกรรมเครื่องเคลือบดินเผา - - ชลบุรี |
th_TH |
dc.subject |
เครื่องเคลือบดินเผา - - ชลบุรี - - การผลิต |
th_TH |
dc.subject |
สาขาปรัชญา |
th_TH |
dc.title |
โครงการนำร่องในการผลิตของที่ระลึกเซรามิกส์ชลบุรี |
th_TH |
dc.title.alternative |
Guiding projectfor the production of ceramic souvenirs in Chonburi |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2539 |
|
dc.description.abstractalternative |
This pilot project is purposed for an experimental study of the clay being used in the production of bricks and tiles, which has long been a local small-sized industry of chon buri Peovince. There are 2 sources of clay within the province; namely, Phan Thong and bang Khla. The quality of clay from both sites is similar in itsstickiness and rather coarese texture, and in that when baked at 1,200 degree celsius in the oxidation firing, the outcome is the reddish brown biscuit, with the rate of absorbency at 6-10%, and the rate of contraction at 6% . Experiments have been carried out with clay from both sites by adjusting its quality to be more appropriate for various throwing techniques, designs of the products, as well as for them to be more attractive and expecially suitable for glazing.
The quality of the clay has been adjusted and made into: the folloeing mixture:
Phan Thong Clay or Bang Khla Clay 40-60% 4-6
Prachin Black Clay 20-40% 2-4
Feldspar 20-40% 2-4
The above mixture has finer texture, with appropriate stickiness, yellowish brow in colour, rate of absorbency at about 0-7% and rate of contraction at about 8-15%. Main ingredient. of the mixture is either the Phan Thong clay or the Bang Khla Clay, mixed with black clay or compound clay. Feldspar helps welding the clay and adds gloss to its texture, as well reduces its stickiness. The mixed clay can be thrown either by hand. potter's wheel, pressing technique, or jigger. Even slip casting can also be used although less amount of local clay and a better process of soil stir and filter will be needed.
As part of this pilot project, some souvenirs have been produced from the clay mixture through various throwing techniques so as to stand as examples and guidelines for future development. Some of them are put on sale and distributed while useful information publicized to the public via printed media as well as to related government agencies |
en |