รายงานการวิจัย (Research Reports): Recent submissions

  • ฉลวย มุสิกะ; วันชัย วงสุดาวรรณ; อาวุธ หมั่นหาผล; พัฒนา ภูลเปี่ยม; แววตา ทองระอา (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555)
    การศึกษาคุณภาพน้ำในแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล บริเวณหาดบางแสน หาดพัทยา และหาดจอมเทียน โดยการตรวจสอบวัดคุณภาพน้ำเดือนละ 1 ครั้ง ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2554 -มกราคม พ.ศ.2555 ผลการศึกษาพบว่าคุณภาพน้ำในแต่ละบริเวณมีค่าต่ำสุด ...
  • พัฒนา ภูลเปี่ยม; สายสมร ศรีแก้ว (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2549)
    จากการเก็บตัวอย่างน้ำทะเลชายฝั่งภาคตะวันออก ตั้งแต่ ปากแม่น้ำบางปะกง ไปจนถึงอ่าวคุ้งกระเบน ทั้งหมด 22 สถานี ในช่วงฤดูแล้ง (มีนาคม 2548) ปละฤดูฝน (ตุลาคม 2548) มาตรวจสอบหาปริมาณแบคทีเรียบางชนิดที่เป็นเครื่องบอกถึงคุณภาพน้ำ ...
  • สุขใจ รัตนยุวกร; สุพรรณี ลีโทชวลิต (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2552)
    การปนเปื้อนของปรสิตในหอยนางรมปากจีบ Saccrostrea cucullata และ Saccrostrea forskali ในเขตการเพาะเลี้ยงบริเวณตำบลอ่างศิลา เขตเมืองใหม่ จังหวัดชลบุรี และในพื้รที่การเพาะเลี้ยงในตำบลท่าแฉลบ อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ...
  • สุพรรณี ลีโทชวลิต; จันทร์จรัส วัฒนะโชติ; นันทิกา คงเจริญพร; นารีรัตน์ ฤทธิรุตน์ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทาง ทะเลมหาวิทยาลัยบูรพา, 2554)
    จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรคปรสิตและระบบภูมิคุ้มกันในหอยเศรษฐกิจ 5 ชนิดได้แก่ หอยลาย (undulated surf clam, Paphia undulata), หอยนางรมปากจีบ (oyster, Saccostrea sp.), หอยแมลงภู่ (green mussel, Perna viridis), หอยแครง ...
  • พัฒนา ภูลเปี่ยม (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555)
    การหมักก๊าซชีวภาพจากขยะมูลฝอยในครัวเรือน ชุมชนวอนนภา ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดยหมักเศษอาหาร 25 กิโลกรัม ผสมกับน้ำจากระบบบำบัดน้ำเสียของสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ปริมาตรรวม 100 ลิตร ภายใต้กระบ ...
  • สุเมตต์ ปุจฉาการ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555)
    ทำการสำรวจและเก็บตัวอย่างฟองน้ำทะเลบริเวณหมู่เกาะทะเลชุมพร จังหวัดชุมพร ระหว่างวันที่ 13 มีนาคม 2554 รวม 8 จุดสำรวจ การสำรวจใช้วิธีดำน้ำแบบผิวน้ำและเครื่องช่วยหายใจใต้น้ำในเวลากลางวัน สุ่มตลอดจุดสำรวจ รวบรวมตัวอย่างได้ทั้งหมด ...
  • วรรณภา กสิฤกษ์ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2546)
    จากการศึกษาการตรวจหาเชื้อแบคทีเรียและปรสิตที่ก่อให้เกิดในม้าน้ำทั้งหมด 467 ตัวอย่าง พบสาเหตุของโรคที่ตรวจพบมากที่สุดที่เกิดจากปรสิต คิดเป็นร้อยละ 53.54 รองลงมาพบโรคที่เกิดจากแบคทีเรียและโรคที่เกิดจากสาเหตุอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ ...
  • วรรณภา กสิฤกษ์ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548)
    จากการศึกษาการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย และปรสิตที่ก่อให้เกิดโรคในปลาการณ์ตูนทั้งหมด 498 ตัวอย่าง พบสาเหตุที่ทำให้ปลาการ์ตูนตายมากที่สุดได้แก่ โรคที่เกิดจากโปรโตซัว คิดเป็นร้อยละ 51.78 รองลงมาพบโรคที่เกิดจากลุ่มเชื้อแบคทีเรียและรา ...
  • พิทักษ์ สูตรอนันต์; เสาวภา สวัสดิ์พีระ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2546)
    แบบแผนอาร์เอพีดี (RAPD patterns) ที่ได้จากการเพิ่มขยายโดยปฏิกิริยาอารืเอพีดี และอาศัยการตรวจสอบแถบดีเอ็นเอที่ปรากฏร่วมกันของตัวอย่างภายในสปีชีส์เดียวกัน และปริมาณความเข้มของแถบดีเอ็นเอที่ปรากฏ จากการตรวจสอบไพรเมอร์ จำนวน ...
  • รัตนาภรณ์ ศรีวิบูลย์; อุดมลักษณ์ ธิติรักษ์พาณิชย์ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2551)
    จากการเก็บตัวอย่าง 3 ครั้ง จากบริเวณชายฝั่ง บางตัวอย่างเป็นดินบริเวณป่าชายเลนในจังหวัดชลบุรี และบริเวณหาดสวนสน จังหวัดระยอง และได้ตัวอย่างทั้งหมด 29 ตัวอย่าง นำดินมา Pretreat ที่ 55 ° C 15 นาที และที่ 100 ° C 1 ชั่วโมง ...
  • สุขใจ รัตนยุวกร; วรรณภา กสิฤกษ์ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2551)
    การจัดตั้งคลินิกโรคสัตว์น้ำ ในสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล ได้เริ่มการทดลองให้บริการตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2549 ถึงเดือนพฤษภาคม 2550 พบว่าได้ให้บริการการทำงานทั้งสิ้นจำนวน 332 ตัวอย่าง จำนวน 6,189 ตัว แบ่งเป็นสัตว์ทะเล 44 ชนิด ...
  • ธิดารัตน์ น้อยรักษา; อมรรัตน์ ชมรุ่ง (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2539)
    การแยกแพลงก์ตอนพืชทะเล 30 ชนิด บริเวณหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี โดยทำให้แพลงก์ตอนพืชบริสุทธิ์ 2 วิธี คือ การใช้สารปฏิชีวนะร่วมกันระหว่าง เพนิซิลลิน จี สเตรปโตมัยซิน ซัลเฟต และคลอแรมฟีนิคัล ที่ระดับความเข้มข้นต่าง ๆ กัน ...
  • รัตนาภรณ์ ศรีวิบูลย์; อุดมลักษณ์ ธิติรักษ์พาณิชย์ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548)
    จากการคัดเลือกแอคติโนมัยซีทที่สามารถสร้างสารรงควัตถุสีแดง จำนวน 7 ไอโซเลต นำมาเลี้ยงด้วยอาหารต่าง ๆ กันคือ อาหาร ISP2 อาหาร Soybean meal อาหาร ISP2+ น้ำมันงา และอาหาร ISP +2 น้ำมันปลา และตรวจสอบการสร้างรงควัตถุและฤทธิ์ยั ...
  • แววตา ทองระอา; ฉลวย มุสิกะ; วันชัย วงสุดาวรรณ; อาวุธ หมั่นหาผล (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548)
    การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจที่ดีขึ้นเกี่ยวกับ พฤติกรรม และเส้นทางเดินของสารปรอทในดินตะกอนและน้ำบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง โดยศึกษาการกระจายของสารปรอท ในน้ำและดินตะกอน ...
  • แววตา ทองระอา; ฉลวย มุสิกะ; วันชัย วงสุดาวรรณ; อาวุธ หมั่นหาผล (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2547)
    การศึกษาการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสารปรอทในดินตะกอนและน้ำบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดในปีแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการแพร่กระจายของสารปรอทในน้ำทะเลบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ศึกษาการแพร่กระจายของสารปรอทในดินตะตอน ...
  • ขวัญเรือน ศรีนุ้ย; รุจิรา แก้วกิ่ง (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548)
    ศึกษาการแพร่กระจายและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกในเดือนมีนาคม 2547 (ฤดูแล้ง) และในเดือนสิงหาคม 2547 (ฤดูฝน) พบแพลงก์ตอนสัตว์ทั้งสิ้น 15 ไฟลัม 41 กลุ่ม ในฤดูแล้งมีความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตวืมากกว่าฤดูฝน ...
  • ขวัญเรือน ศรีนุ้ย (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2549)
    ศึกษาการแพร่กระจายและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณปากแม่น้ำของชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกในเดือนมีนาคม 2548 (ฤดูแล้ง) และในเดือนตุลาคม 2548 (ฤดูฝน) พบแพลงก์ตอนสัตว์ทั้งสิ้น 15 ไฟลัม 42 กลุ่ม ในฤดูแล้งมีความชุกชุมของแพลงก์ ...
  • แววตา ทองระอา; ฉลวย มุสิกะ; ไพฑูรย์ มกกงไผ่; วันชัย วงสุดาวรรณ; อาวุธ หมั่นหาผล (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2546)
    Total P and the chemical forms were investigated in coastal marine sediments of the Eastern Coast of Thailand in the dry (April 2001) and wet (July 2001) seasons. The amounts of total P ranged from 55.83 to 2,575.83 and ...
  • แววตา ทองระอา; สุพจน์ ฐิตธรรมโม; รวิวรรณ สังขศิลา; วิไลวรรณ ต้นจ้อย (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2530)
  • สุขใจ รัตนยุวกร; กรรณิกา ชัชวาลวานิช; พิสุทธิ์ มังกรกาญจน์; อมรา ทองปาน (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2546)
    นำพ่อและแม่พันธุ์ปลาการ์ตูนอานม้า (Amphiprion polymnus Linnaeus (1758)) จากทะเล มาเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ ปลาการ์ตูนอานม้ามีวงจรการสืบพันธุ์ทุกๆ 14-21 วันและสามารถวางไข่ได้ตลอดปี ทำการเก็บตัวอย่างไข่ปลาตั้งแต่ได้รับการปฏิ ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account