dc.contributor.author |
ภัทราวุธ ไทยพิชิตบูรพา |
|
dc.contributor.author |
จารุมาศ เมฆสัมพันธ์ |
|
dc.contributor.author |
วิชญา กันบัว |
|
dc.date.accessioned |
2022-08-01T09:02:48Z |
|
dc.date.available |
2022-08-01T09:02:48Z |
|
dc.date.issued |
2565 |
|
dc.identifier.issn |
2351-0781 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4600 |
|
dc.description.abstract |
คุณภาพน้ำที่เสื่อมโทรมและการเกิดสภาวะยูโทรฟิเคชั่นเป็นปัญหาที่สำคัญสำหรับแหล่งน้ำซึ่งมีแนวโน้มพบมากขึ้นในประเทศไทย ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำและสภาวะยูโทรฟิเคชั่นในแม่น้ำจันทบุรีและปากน้ำแหลมสิงห์ ทำการศึกษา 3 ครั้ง ได้แก่ เดือนมกราคม (ฤดูแล้ง) เมษายน (ต้นฤดูฝน) และกรกฎาคม (ฤดูฝน) พ.ศ. 2561 ทั้งหมด 17 สถานี แบ่งเป็นพื้นที่แม่น้ำ 6 สถานี และปากแม่น้ำ 11 สถานี ผลการศึกษาคุณภาพน้ำทั่วไป พบว่าอยู่ในเกณฑ์แหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 2 (PCD, 2006) โดยเฉพาะปริมาณออกซิเจนละลายน้ำส่วนใหญ่มีค่าสูงกว่า 6 mg/l ในส่วนของสารอาหารและคลอโรฟิลล์-เอ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล และสถานี โดยซิลิเกตมีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล และมีความสัมพันธ์กับสารอาหารอนินทรีย์ละลายน้ำอื่นๆ นอกจากนี้ พบว่า พื้นที่แม่น้ำจันทบุรี มีฟอสฟอรัสเป็นปัจจัยจำกัดของกำลังการผลิตขั้นต้นสำหรับแหล่งน้ำ ในส่วนการประเมินสภาวะยูโทรฟิเคชั่นพบว่า แม่น้ำจันทบุรีจัดอยู่ในแหล่งน้ำมีที่มีความอุดมสมบูรณ์ระดับต่ำกว่ายูโทรฟิเคชั่น ส่วนบริเวณปากแม่น้ำในช่วงฤดูฝนจะมีค่าอยู่ใน ระดับสูงกว่ายูโทรฟิเคชั่น (Smith et al., 1999) ทั้งนี้บางสถานีมีสารอาหารและคลอโรฟิลล์-เอ สูงกว่าระดับยูโทรฟิเคชั่นถึง 5 เท่า ซึ่งมีความเสี่ยงสูงในการทำให้เกิดสภาวะเสื่อมโทรมของแหล่งน้ำ ซึ่งสามารถทำให้เกิดสภาวะ Hypoxia ส่งผลต่อ สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำและกิจกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งของจังหวัดจันทบุรีได้โดยผลการศึกษาสามารถนำไปใช้สนับสนุนการบริหารจัดการและการกำหนดแนวทางการป้องกันสภาวะความเสื่อมโทรมของแหล่งน้ำในอนาคตต่อไปได้ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
แม่น้ำจันทบุรี |
th_TH |
dc.subject |
ปากน้ำแหลมสิงห์ |
th_TH |
dc.subject |
ยูโทรฟิเคชัน |
th_TH |
dc.subject |
คุณภาพน้ำ -- ไทย -- ปากน้ำแหลมสิงห์ |
th_TH |
dc.subject |
คุณภาพน้ำ -- ไทย -- แม่น้ำจันทบุรี |
th_TH |
dc.title |
คุณภาพน้ำและสภาวะยูโทรฟิเคชั่นในแม่น้ำจันทบุรีและปากน้ำแหลมสิงห์ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Water qualities and eutrophication of Chanthaburi River and Laem Sing estuary |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
1 |
th_TH |
dc.volume |
27 |
th_TH |
dc.year |
2565 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Problems of water deteriorated and eutrophication have increasingly serious in Thailand waters. The objectives of this research were study of changes in water qualities and eutrophication conditions in the Chanthaburi River and Pak Nam Laem Sing. The study was conducted 3 times in January (dry season), April (early rainy season) and July (rainy season) of year 2018. The seventeen stations were investigated, divided to 6 six stations of the river and 11 stations of estuarine zone. Our results indicated that the general water qualities were good condition, it was in Classification 2 of Surface Water Quality (PCD, 2006), the dissolved oxygen was higher than 6 mg/l. The changes in nutrients and chlorophyll a concentration was seasonal, especially silicate. The eutrophication situations in the river stations were lower level, except at the estuary during rainy season were found eutrophic levels. In addition, nutrient and chlorophyll concentrations up to 5 times higher than of eutrophic level has occurred which risking in low oxygen conditions (Hypoxia) in the water. Hence, the marine life and aquaculture might be affected by alteration of eutrophication situations. From the information obtained during this study, leading to determination the management and guideline to protect of the water resources in the future. |
th_TH |
dc.journal |
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal |
th_TH |
dc.page |
1-19. |
th_TH |