dc.contributor.author |
Somchai Krairak |
|
dc.contributor.author |
Nisa Krairak |
|
dc.date.accessioned |
2022-07-31T02:04:46Z |
|
dc.date.available |
2022-07-31T02:04:46Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.issn |
2351-0781 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4593 |
|
dc.description.abstract |
Rhodopseudomonas sp. S12-13 เป็นเชื้อสายพันธุ์กลายจากสายพันธุ์พ่อแม่ Rhodopseudomonas S12 ที่ได้รับการฉายแสงอัลตร้าไวโอเลตเพื่อชักนำการกลายพันธุ์ สายพันธุ์กลาย S12-13 มีความสามารถในการย่อยสลายแป้งมันสำปะหลัง และให้การสร้าง coenzyme Q10 ปริมาณสูงถึง 148.12±21.74 μg/L เมื่อนำมาเลี้ยงเชื้อในอาหาร AM medium ที่มีแหล่งคาร์บอน และแหล่งไนโตรเจน เป็น 2% แป้งมันสำปะหลัง และ 1% กลูตาเมต ตามลำดับ แต่สายพันธุ์พ่อแม่ S12 ให้การสร้าง coenzyme Q10 เพียง 12.51±1.34 μg/L เมื่อเลี้ยงเชื้อในอาหาร AM medium เชื้อสายพันธุ์กลาย S12-13 ให้การสร้าง coenzyme Q10 สูงสุด เพิ่มขึ้นเป็น 186.91±28.97 μg/L เมื่อนำมาเลี้ยงเชื้อในขวดทรงสี่เหลี่ยม (rectangle bottle) ซึ่งมีพื้นที่รับแสง 200 ตารางเซ็นติเมตร ขณะที่การเลี้ยงเชื้อในขวดทรงกระบอก (cylindrical bottle) ซึ่งมีพื้นที่รับแสงเพียง 143 ตารางเซ็นติเมตร จะให้การสร้าง coenzyme Q10 เพียง 151.70±21.64 μg/L |
th_TH |
dc.language.iso |
en |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
Ubiquinones |
th_TH |
dc.subject |
Rhodopseudomonas |
th_TH |
dc.subject |
Tapioca starch |
th_TH |
dc.subject |
Digestion |
th_TH |
dc.title |
The Coenzyme Q10 production from Rhodopseudomonas sp. S12-13 mutant |
th_TH |
dc.title.alternative |
การผลิต Coenzyme Q10 จากเชื้อสายพันธุ์กลาย Rhodopseudomonas sp. S12-13 |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
1 |
th_TH |
dc.volume |
26 |
th_TH |
dc.year |
2564 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Rhodopseudomonas sp. S12-13 was retrieved from the mutation of the wild type, Rhodopseudomonas S12, by UV-irradiation. The mutant, S12-13 contained the cassava starch digestibility resulting in the high amount of coenzyme Q10 production at 148.12±21.74 μg/L when cultivating in AM medium containing of 2% cassava starch and 1% glutamate as carbon and nitrogen sources, respectively. In case of wild type, S12, the coenzyme Q10 production was only 12.51±1.34 μg/L when cultivating in AM medium. Mutant S12-13 produced maximal coenzyme Q10 (186.91±28.97 μg/L), when it was cultivated in the rectangle bottle, that contained 200 cm2 of light exposure surface area. For the cultivation in cylindrical bottle, which contained 143 cm2 of light exposure surface area, one would produce 151.70±21.64 μg/L of coenzyme Q10. |
th_TH |
dc.journal |
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal |
th_TH |
dc.page |
105-116. |
th_TH |