dc.contributor.author |
วนิดา พงษ์ศักดิ์ชาติ |
|
dc.contributor.author |
อภิชัย ธรรมชาติ |
|
dc.date.accessioned |
2022-07-30T08:51:28Z |
|
dc.date.available |
2022-07-30T08:51:28Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4584 |
|
dc.description.abstract |
อัตราแลกเปลี่ยนโดยเฉพาะอย่างยิ่งอัตราซื้อถัวเฉลี่ยของเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐเป็นดัชนีทางการเงินที่มีบทบาทสำคัญทั้งทางบวกและทางลบต่อเศรษฐกิจไทย หากสามารถทำนายอัตราซื้อถัวเฉลี่ยของเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐในอนาคตได้ก็จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการวางแผนในการลงทุนและการกำหนดนโยบายด้านเศรฐกิจของประเทศ การแจกแจงความน่าจะเป็นเป็นตัวแบบเชิงสถิติชนิดหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ในการทำนายอัตราซื้อถัวเฉลี่ยของเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐได้
โดยในการศึกษานี้ได้ศึกษาการแจกแจงความน่าจะเป็น 4 ชนิด ได้แก่ การแจกแจงปรกติ การแจกแจงล็อกนอร์มัล การแจกแจงแกมมา และการแจกแจงไวบูล เพื่อหาว่าการแจกแจงชนิดใดมีความหมาะสมมากที่สุด โดยใช้การทดสอบคอลโมโกรอฟสมีร์นอฟ และการทดสอบแอนเดอร์สัน-ดาร์ลิง ในการทดสอบหาการแจกแจงความน่าจะเป็นที่เหมาะสม และใช้ค่ารากที่สองของความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย (RMSE) และค่ารากที่สองของความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยสัมพัทธ์ (RRMSE) เป็นเกณฑ์ในการวัดความคลาดเคลื่อนในการทำนายของการแจกแจงความน่าจะเป็นที่เหมาะสม ผลการศึกษาพบว่า การแจกแจงล็อกนอร์มัลเป็นการแจกแจงความน่าจะเป็นที่เหมาะสมกับอัตราซื้อถัวเฉลี่ยของเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐมากที่สุด |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การแจกแจง (ทฤษฎีความน่าจะเป็น) |
th_TH |
dc.subject |
การแจกแจงไวบูลล์ |
th_TH |
dc.subject |
การแจกแจงปกติ |
th_TH |
dc.subject |
การแจกแจงลอกนอร์มอล |
th_TH |
dc.subject |
อัตราแลกเปลี่ยน |
th_TH |
dc.title |
การแจกแจงความน่าจะเป็นของอัตราซื้อถัวเฉลี่ยรายเดือนของเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Probability distribution of the monthly average buying rate of Thai baht to US dollar |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
2 |
th_TH |
dc.volume |
26 |
th_TH |
dc.year |
2564 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Exchange rate, especially the average buying rate of Thai Baht to US Dollar, is a financial index which plays an important role in Thai economy. The prediction of future average buying rate of Thai Baht to US Dollar would be very useful to investment planning and economic policies of Thailand. The probability distribution is one of the statistical models that can be used to predict average buying rate of Thai Baht to US Dollar. In this study, the
appropriate distributionof the average buying rate of Thai Baht to US Dollar was obtained.Four types of probability distributions were investigated, i.e. normal distribution, log-normal distribution, gamma distribution and Weibull distribution. For goodness of fit test, Kolmogorov-Smirnov test and Anderson-Darling test were used and the root
mean square error (RMSE) and the relative root mean square error (RRMSE) were criteria for measuring the prediction error of the appropriate distribution. The result indicated that the log-normal distribution was the most appropriate distribution of the average buying rate of Thai Baht to US Dollar compare to the others distributions. |
th_TH |
dc.journal |
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal |
th_TH |
dc.page |
1056-1066. |
th_TH |