dc.contributor.author |
ปิยะพร ณ หนองคาย |
|
dc.contributor.author |
จริยาวดี สุริยพันธุ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-05-24T08:50:43Z |
|
dc.date.available |
2022-05-24T08:50:43Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4386 |
|
dc.description |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากส่วนงาน (คณะวิทยาศาสตร์) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ |
th_TH |
dc.description.abstract |
การเปรียบเทียบการดูดซับของเสียไนโตรเจนของเม็ดอัลจิเนตไฮโดรเจลที่ขึ้นรูปร่วมกับ
ถ่านกัมมันต์ และซีโอไลต์ในระดับความเข้มข้นต่างกัน อัลจิเนตไฮโดรเจลขึ้นรูปร่วมกับถ่านกัมมันต์
และซีโอไลต์ ที่ระดับความเข้มข้น 0% 5% 10% 25% และ 50% โดยแต่ละการทดลองใช้เม็ด
อัลจิเนต 2 กรัม / ลิตร และตรวจสอบการดูดซับไนโตรเจนที่เวลา 1, 1.30 และ 2 ชั่วโมง ผลการวิจัย
พบว่าถ่านกัมมันต์ที่มีความเข้มข้น 50% มีประสิทธิภาพสูงสุดในการดูดซับแอมโมเนียรวม ไนไตรท์
และไนเตรทในน้ำ ในขณะที่ซีโอไลต์ 50% และ 25% ที่ขึ้นรูปร่วมกับอัลจิเนตไฮโดรเจล มี
ประสิทธิภาพสูงสุดในการดูดซับแอมโมเนียรวม และไนไตรท์ ในขณะที่ 5% ของซีโอไลต์ดีที่สุดสำหรับการดูดซับไนเตรท จากนั้นทดลองใช้เม็ดอัลจิเนตไฮโดรเจลที่ขึ้นรูปด้วยผงถ่านกัมมันต์ และซีโอไลต์ ที่ความเข้มข้น 25% ขนาด 2 กรัมในการขนส่งปลาหางนกยูง และปลาทอง ปลาจะบรรจุในถุงพลาสติกและขนส่งเป็นเวลา 2 ชั่วโมง ที่ความหนาแน่น 50 ตัว และ 3 ตัว ต่อน้ำ 1 ลิตร ตามลำดับ หลังจากการขนส่ง ปลาจะถูกปล่อยไว้ในแท้งนำ้ ขนาด 50 ลิตร เป็นเวลา 7 วัน ปริมาณแอมโมเนีย ไนไตร์ทและไนเตรท ลดลงหลังจากใช้เม็ดอัลจิเนตไฮโดรเจลที่ขึ้นรูปด้วยผงถ่านกัมมันต์ และซีโอไลต์ อัตราการรอดตายของปลาในกลุ่มควบคุมต่ำกว่าในกลุ่มทดลอง การศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่าเม็ดอัลจิเนตไฮโดรเจลที่ขึ้นรูปด้วยผงถ่านกัมมันต์ และซีโอไลต์สามารถใช้ในการขนส่งปลาสวยงามได้ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ผงถ่านกัมมันต์ |
th_TH |
dc.subject |
ซีโอไลต์ |
th_TH |
dc.subject |
ปลาสวยงาม |
th_TH |
dc.title |
ประสิทธิภาพของซีโอไลต์และผงถ่านกัมมันต์ร่วมกับไฮโดรเจลคอมโพสิต ของอัลจิเนตเพื่อการกำจัดไนโตรเจนในน้ำในการขนส่งปลาสวยงาม |
th_TH |
dc.title.alternative |
Efficiency of zeolite (Clinoptilolite) and activated carbon with composite hydrogel of alginate for nitrogen removal in ornamental fish transportation |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
piyapornn@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
jariyavadee@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The comparison of nitrogen absorption of alginate hydrogel granules
forming with activated carbon and zeolite in different concentration. The alginate
were forming with activated carbon and zeolite in 0% 5% 10% 25% and 50%. Each
experiment were used 2 grams/l and determine nitrogen absorption for 1, 1.30 and 2
hours. The result showed that 50% concentration of activated carbon was highest
efficiency for absorb total ammonia nitrite and nitrate. While 50% and 25% of zeolite
that forming with alginate hydrogel were highest efficiency for total ammonia and
nitrite absorption. While 5% of zeolite was the best for nitrate absorption. The 2
grams of 25% of alginate were forming with activated carbon and zeolite were used
for guppy (Poecilia reticulata) and goldfish (Carassius auratus) transportation. Fishes
were packed in sealed plastic bags and transported for 2 hours at densities 50 and 3
inds/m3, respectively. After transportation, fishes from each density were kept in
separate 50L tanks for 7 days. The pH and temperature were not significantly
difference after transportation. While, Amonia Nitrite and Nitrate concentration were
decreased after use formed alginate with activated carbon and zeolite. The survival
rate of control fishes was lower than treatment. Our results indicate that the formed
alginate with activated carbon and zeolite can used for fish transportation. |
en |
dc.keyword |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |