DSpace Repository

การแพร่กระจายและผลของโลหะหนักต่อพฤติกรรมการกินและมิญชวิทยาของระบบทางเดินอาหาร ของหอยเชอรี่ (Pomacea canaliculata) และหอยโข่ง (Pila spp.) ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกของประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author จันทิมา ปิยะพงษ์
dc.contributor.author ศศิธร มั่นเจริญ
dc.contributor.author จิรารัช กิตนะ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-09-23T01:30:47Z
dc.date.available 2020-09-23T01:30:47Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3963
dc.description งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 th_TH
dc.description.abstract หอยเชอรี่ (Pomacea canaliculata) ถูกจัดเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานในประเทศไทยและมีผลต่อการลดลงของจำนวนประชากรหอยโข่งพันธุ์พื้นเมือง (Pila spp) โดยหอยเชอรี่แสดงพฤติกรรมการกินอาหารมากกว่าหอยโข่งพันธุ์พื้นเมืองและมีแนวโน้มที่มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดีกว่าหอยโข่งพันธุ์พื้นเมือง ความเป็นพิษของโลหะหนักในสิ่งแวดล้อมอาจส่งผลต่อการตอบสนองทางพฤติกรรมต่าง ๆ และพยาธิสภาพของเซลล์ในเนื้อเยื่อหอย ดังนั้นงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการกินอาหารและพยาธิสภาพของเซลล์ในระบบทางเดินอาหารของหอยเชอรี่และหอยโข่งพันธุ์พื้นเมือง (P. pesmei) ที่ได้รับตะกั่วซึ่งเป็นโลหะหนักที่ใช้เป็นต้นแบบในการศึกษาครั้งนี้ที่ระดับความเข้มข้นแตกต่างกัน (0.05 0.5 และ 5 ppm) จากผลการศึกษาในห้องปฏิบัติการพบว่าหอยเชอรี่แสดงพฤติกรรมการกินอาหารมากกว่าหอย โข่งพันธุ์พื้นเมือง ผลการศึกษาพยาธิสภาพของเซลล์ในเนื้อเยื่อต่อมย่อยอาหารพบว่าหอยเชอรี่มีการเสียสภาพของเนื้อเยื่อบุผิวน้อยกว่าหอยโข่งพันธุ์พื้นเมืองแต่มีจำนวนเซลล์เบโซฟิ ลิคและแกรนูลสี เข้มมากกว่าหอยโข่งพันธุ์พื้นเมือง ส่วนเนื้อเยื่อหลอดอาหารของหอยเชอรี่มีการเพิ่มจำนวนเซลล์มิวคัสมากกว่าหอยโข่งพันธุ์พื้นเมือง ผลการศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการกินอาหารและพยาธิสภาพของเซลล์ในระบบทางเดินอาหารของหอยทั้ง 2 ชนิดพบว่าไม่มีความสัมพันธ์กัน อย่างไรก็ตามผลการศึกษาพบว่าหอยเชอรี่มีความทนทานต่อสารละลายตะกั่วในขณะที่หอยโข่งพันธุ์พื้นเมืองสะสมสารละลายตะกั่วในเนื้อเยื่อได้สูง ดังนั้นหอยทั้ง 2 ชนิดนี้อาจถูกใช้เป็นแนวทางในการศึกษาหอยฝาเดียวน้ำจืดทั้ง 2 ชนิดเพื่อใช้เป็นสัตว์ต้นแบบในการติดตามและเฝ้า ระวังผลกระทบจากการปนเปื้อนตะกั่วในสิ่งแวดล้อมได้ th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject หอยเชอรี่ th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การแพร่กระจายและผลของโลหะหนักต่อพฤติกรรมการกินและมิญชวิทยาของระบบทางเดินอาหาร ของหอยเชอรี่ (Pomacea canaliculata) และหอยโข่ง (Pila spp.) ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกของประเทศไทย th_TH
dc.title.alternative Distribution and effects of heavy metals on feeding behavior and histology of digestive system in pomacea canaliculata) and pila spp. in the eastern region of Thailand en
dc.type Research th_TH
dc.author.email chantimap@buu.ac.th th_TH
dc.author.email muncharoen@buu.ac.th th_TH
dc.author.email Jirarach.S@Chula.ac.th th_TH
dc.year 2561 th_TH
dc.description.abstractalternative The golden apple snails (Pomacea canaliculata) are invasive alien species in Thailand. They have an effect on population decline in the native apple snails (Pila spp.). P. canaliculata show feeding behavior and environmental tolerance more than Pila spp. The toxicity of heavy metals in the environment could be affected by behavioral response and histopathology of snail tissues. Therefore, this study aimed to compare the relationship between feeding behavior and histopathology of digestive system in P. canaliculata and P. pesmei exposed to different lead (as a model heavy metal) concentrations (0.05, 0.5, and 5 ppm). The results in the laboratory revealed that P. canaliculata fed significantly more than P. pesmei. The results of histopathology of digestive gland showed that there was epithelial degeneration in P. canaliculata significantly less than in P. pesmei but there was increase in the number of basophilic cell and dark granule in P. canaliculata more than in P. pesmei. The results of esophagus showed that there was increase in the number of mucous cell in P. canaliculata significantly more than in P. pesmei. When comparing the relationship between feeding behavior and histopathology of digestive system in each species, they were not related to each other. However, the results showed that P. canaliculata were tolerant to lead while there was high accumulation of lead in tissues of P. pesmei. Therefore, both species could be used as a guideline for freshwater gastropods as models for monitoring the impact of lead contamination in the environment. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account