DSpace Repository

กระแสน้ำบริเวณเกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554

Show simple item record

dc.contributor.author ธิดารัตน์ น้อยรักษา
dc.contributor.author อนุกูล บูรณประทีปรัตน์
dc.contributor.author ศิราพร ทองอุดม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:18:52Z
dc.date.available 2019-03-25T09:18:52Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2789
dc.description.abstract งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาลักษณะกระแสน้าบริเวณใกล้เกาะแสมสาร ตามวัฏจักรน้าขึ้นน้าลงและตามฤดูกาล ระหว่างเดือนกรกฎาคม ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นความสำคัญของน้าขึ้นน้ำลง ลมมรสุม และลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีต่อการไหลเวียนกระแสน้าใน 2 บริเวณที่ทาการตรวจวัด คือบริเวณท่าเรือเขาหมาจอ และ เกาะแรดด้านตะวันตก โดยบริเวณท่าเรือเขาหมาจอ พบว่าคลื่นน้าขึ้นน้าลงเป็นคลื่นก้าวหน้า (progressive wave) กระแสน้ามีความเร็วเฉลี่ยประมาณ 8-14 เซนติเมตรต่อวินาที และมีความเร็วสูงสุดมากกว่า 37 เซนติเมตรต่อวินาที โดยทิศทางหลักของกระแสน้าไหลไปทางตะวันออกในช่วงน้าขึ้นและไหลไปทางตะวันตกในช่วงน้าลงตามลักษณะ ของแนวร่องน้ากระแสน้าสุทธิบริเวณนี้ได้รับอิทธิพลจากลม โดยในช่วงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ มีทิศไหลไป ทางตะวันออกมากกว่าตะวันตก และช่วงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมีทิศไหลไปทางตะวันตกมากกว่าตะวันออก ส่วนบริเวณเกาะแรดด้านตะวันตก พบว่าคลื่นน้าขึ้นน้าลงเป็นคลื่นนิ่ง (standing wave) กระแสน้ามีความเร็วเฉลี่ย ประมาณ 10–20 เซนติเมตรต่อวินาที และมีความเร็วสูงสุดมากกว่า 55 เซนติเมตรต่อวินาที โดยไหลไปทางเหนือประมาณ 1-2 ชั่วโมง ด้วยความเร็วต่ำ (น้อยกว่า 10 เซนติเมตรต่อวินาที) ในช่วงน้าขึ้นและไหลไปทางใต้เป็นเวลานานประมาณ 5-6 ชั่วโมง ด้วยความเร็วสูง (40-50 เซนติเมตรต่อวินาที) ในช่วงน้าลงตามลักษณะของแนวร่องน้าเช่นเดียวกัน กระแสน้าสุทธิบริเวณนี้ ไม่สามารถสรุปตามการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาลได้ เนื่องจากมีข้อมูลเฉพาะช่วงฤดูมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ แต่พบว่ามีทิศไหลไปทางใต้ตลอดช่วงเวลาที่ทาการตรวจวัด th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject กระแสน้ำ - - ไทย - - เกาะแสมสาร (ชลบุรี) th_TH
dc.subject น้ำขึ้นน้ำลง th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title กระแสน้ำบริเวณเกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 20
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative Water circulation characteristics were studied near Koh Samae San at two sites namely Khao Mha Jao port and the west of Koh Rad from July to December 2011. Tide, monsoonal winds and geographic features play an important role to water currents in both study sites. Tidal wave in Khao Mha Jao port was categorized as a progressive wave, and average velocity was 8-14 cm/s and maximum velocity was over 37 cm/s during ebb tide. The currents mainly directed eastward during flood tide and westward during ebb tide following channel aspect. Residual current at Khao Mha Jao port was affected by monsoonal winds. The southwest wind was related to the east residual flow and the northeast wind was related to the west residual flow. In the west of Koh Rad, a standing wave was prominent. Average velocity in this study site was 10-20 cm/s and maximum velocity was 55 cm/s. Tidal current flowed to the north for 1-2 hours during flood tide with weak current velocity (1-10 cm/s) and flowed to the south for 5-6 hours during ebb tide with strong current velocity (40-50 cm/s), following channel feature. Residual current in this site always flowed to the south during the northeast monsoon. en
dc.journal วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal.
dc.page 199-208.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account