dc.contributor.author |
สุดสายชล หอมทอง |
|
dc.contributor.author |
กานดา มากหมื่นไวย์ |
|
dc.contributor.author |
ยุพยงค์ บุญทวี |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:16:06Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:16:06Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2584 |
|
dc.description.abstract |
การตรวจสอบคุณภาพทางจุลชีววิทยาของนมผง 30 ตัวอย่าง และผลิตภัณฑ์เนยแข็ง 30 ตัวอย่าง ที่จำหน่ายในห้างสรรพสินค้าต่าง ๆ ในบริเวณอำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี โดยทำการสุ่มตรวจในเดือนพฤศจิกายน 2548 ถึงเดือนมกราคม 2549 พบปริมาณแบคทีเรียทั้งหมดในนมผงมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ (1.22±4.9)×10 CFU/g โดยปริมาณแบคทีเรียทั้งหมดที่พบอยู่ในช่วงน้อยกว่า 10^2 CFU/g คิดเป็น 76.67 เปอร์เซ็นต์และพบการปนเปื้อนของแบคทีเรียในกลุ่มโคลิฟอร์มและ Escherichia coli มีปริมาณน้อยกว่า 3 MPN/g สำหรับการตรวจหาแบคทีเรียก่อโรคนนี้พบการปนเปื้อน Bacillus cereus จำนวน 3 ตัวอย่าง คิดเป็น 10 เปอร์เซ็นต์ และพบ Listeria sp. 2 ตัวอย่างคิดเป็น 6.67 เปอร์เซ็นต์ ตรวจไม่พบ Salmonella sp., Staphylococcus aureus และ Listeria monocytogenes ในตัวอย่างทั้งหมด ปริมาณแบคทีเรียทั้งหมดในเนยแข็งมีค่าน้อยกว่า 10^2 CFU/g คิดเป็น 66.67 เปอร์เซ็นต์ของตัวอย่างทั้งหมด สำหรับแบคทีเรียโคลิฟอร์มที่พบปริมาณมากเท่ากับ 460 MPN/g คิดเป็น 3.34 เปอร์เซ็นต์ของตัวอย่าง ทั้งหมด ส่วน E. coli มีจำนวนน้อยกว่า 3 MPN/g ในทุกตัวอย่าง และไม่พบเชื้อแบคทีเรียก่อโรค S. aureus Salmonella sp. B. cereus และ L. monocytogenes |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
จุลชีววิทยาทางอาหาร |
th_TH |
dc.subject |
นมผง |
th_TH |
dc.subject |
เนยแข็ง |
th_TH |
dc.title |
คุณภาพทางจุลชีววิทยาของนมผงและเนยแข็ง |
th_TH |
dc.title.alternative |
Microbiological quality of milk powders and cheese |
en |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
1 |
|
dc.volume |
12 |
|
dc.year |
2550 |
|
dc.description.abstractalternative |
Thirty samples of milk powder and thirty samples of cheeses purchased from different department stores of the Muang Chonburi district, Chonburi Province were investigated for microbiological quality. The experiment was performed during November 2005 to January 2006. Average levels of total aerobic bacteria in milk powder were (1.22±4.9)X10 CFU/g. The total aerobic bacteria count lower than 10^2 CFU/g was about 76.67%. Coliform and Escherichia coli were present in lower than 3 MPN/g in any sample. Three samples (10%) and two samples (6.67%) were found to be positive for Bacillus cereus and Listeria sp. respectively. Salmonellasp., Staphylococcus aureus and Listeria monocytogenes were not detected in any samples. Total aerobic bacteria counts of cheeses were present in lower than 10^2 CFU/g in 66.67 % of the samples. Coliforms were present high numbers as 460 MPN/g in 3.34 % of the samples.Escherichia coli was present in lower than 3 MPN/g in any samples. S. aureus, Salmonella sp, B. cereus and L. monocytogenes were not detected in all samples. |
en |
dc.journal |
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal |
|
dc.page |
53-62. |
|