dc.contributor.author |
สุดสายชล หอมทอง |
|
dc.contributor.author |
กิ่งกาญ แสงสุริยะ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:16:06Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:16:06Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2583 |
|
dc.description.abstract |
การสำรวจการปนเปื้อนของเชื้อก่อโรคที่ปนเปื้อนในอาหารในฟองน้ำล้างจานจากร้านขายอาหารจำนวน10 ร้าน ในซอยสดใส มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรีในช่วงเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 จากการศึกษาพบว่าตัวอย่างฟองน้ำล้างจาน 30 ตัวอย่างที่นำมาวิเคราะห์มีการปนเปื้อนของ Salmonella spp. คิดเป็นร้อยละ 50 และมีการปนเปื้อนของ Escherichia coli คิดเป็นร้อยละ 73.3 ส่วน Staphylococcus aureus ไม่พบว่ามีการปนเปื้อนในทุกตัวอย่างที่นำมาวิเคราะห์พบ Salmonella spp. และ E. coli ในร้านขายอาหาร 8 ร้าน มีค่าเฉลี่ย MPN/100 mL ของฟองน้ำทั้งชิ้นเท่ากับ 2.12 x 102 และ 22.1 ตามลำดับจากผลการศึกษานี้บ่งชี้ว่าฟองน้ำล้างจานมีความเป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ จึงมีความจำเป็นที่ต้องมีความระมัดระวังและมีการปฏิบัติอย่างถูกสุขอนามัย |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
ซาลโมเนลลา |
th_TH |
dc.subject |
ฟองน้ำ |
th_TH |
dc.subject |
สตาฟีย์โลค็อกคัส ออเรียส |
th_TH |
dc.subject |
เอสเคอริเคียโคไล |
th_TH |
dc.title |
การสำรวจการปนเปื้อนของเชื้อก่อโรคในฟองน้ำล้างจาน |
th_TH |
dc.title.alternative |
Survey of contaminated foodborne pathogen in kitchen sponges |
en |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
3 |
|
dc.volume |
9 |
|
dc.year |
2550 |
|
dc.description.abstractalternative |
This survey of contaminated foodborne pathogens in kitchen sponges from 10 food shops at Lane Sodsai, Burapha University, Chonburi Province, was conducted from November 2005 to February 2006. Studies revealed that among 30 samples of kitchen sponges, 50% and 73.33 % were contaminated with Salmonella spp. and Escherichia coli respectively. Staphylococcus aureus was not detected in any of the samples. Mean number of Salmonella spp. and E. coli were 2.12 x 102 and 22.1 MPN/100 mL of whole sponges samples respectively. The present study indicates that kitchen sponges are sources of potential hazards and public health warning should be conducted to improve sanitization. |
en |
dc.journal |
วารสารวิชาการ ม.อบ |
|
dc.page |
38-52. |
|