dc.contributor.author |
อนุกูล บูรณประทีปรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
ปราโมทย์ โศจิศุภร |
|
dc.contributor.author |
K. Olaf Niemann |
|
dc.contributor.author |
Tetsuo Yanagi |
|
dc.contributor.author |
Satsuki Matsumura |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:16:02Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:16:02Z |
|
dc.date.issued |
2009 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2528 |
|
dc.description.abstract |
แบบจำลองไฮไดรไดนามิค Princeton Ocean Model (POM) ได้ถูกนำมาใช้ศึกษาการไหลเวียนเชิง 3 มิติของกระแสน้ำในอ่าวไทยตอนบน โดยพิจารณา ลม น้ำขึ้น-น้ำลง และน้ำท่า เป็นแรงขับเคลื่อนที่สำคัญ ผลที่ได้แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของรูปแบบการไหลเวียนของกระแสน้ำที่สอดคล้อง กับทิศทางของลมมรสุม กระแสน้ำที่ผิวทะเลเคลื่อนที่ไปตามทิศทางของลม ในขณะที่กระแสน้ำในที่ลึกลงไปมีทิศทาตรงข้าม เกิดจากการไหลแทนที่น้ำที่ผิวทะเล ไดเวอร์เจน (divergence) และคอนเวอร์เจน (convergence) ที่ผิวทะเลสอดคล้องกับการเกิดปรากฏการณ์น้ำผุด (upwelling) และน้ำมุด (downwelling) ตามลำดับ จากการคำนวณค่ากระแสน้ำฌฉลี่ยตลอดความลึกพบว่า เกิดการไหลเวียนแบบตามเข็มนาฬิกาในช่วงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และแบบทวนเข็มนาฬิกาในช่วงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ รูปแบบการไหลเวียนกระแสน้ำที่ผิวทะเลจากแบบจำลองมีความสอดคล้องกับค่าที่ได้มาจากการตรวจวัด อย่างไรก็ดี พบความไม่สอดคล้องของผลการเปรียบเทียบในเดือนกรกฎาคม ซึ่งอาจเกิดจากลักษณะของลมที่แตกต่างกันในแต่ละปี อิทธิพลของน้ำจากตอนกลางของอ่าวไทย อิทธิพลของน้ำท่าหรือจากธรณีสัณฐานของพื้นทะเล จึงควรที่จะต้องทำการศึกษากันต่อไปในอนาคต ถึงปัจจัยและกลไกของการเกิดปรากฏการณ์ดังกล่าว |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
Gulf of. Hydrodynamics. |
th_TH |
dc.subject |
Ocean currents - - Thailand |
th_TH |
dc.title |
Circulation in the upper Gulf of Thailand investigated using a three-dimensional hydordynamic model |
en |
dc.title.alternative |
การไหลเวียนของกระแสน้ำในอ่าวไทยตอนบนจากการศึกษาโดยใช้แบบจำลองไฮโดรไดนามิค 3 มิติ |
th |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
1 |
|
dc.volume |
14 |
|
dc.year |
2009 |
|
dc.description.abstractalternative |
The Princeton Ocean Model (POM) was applied to investigate three-dimensional circulation in the upper Gulf of Thailand (UGoT). Wind, tide and river discharge were considered as major forces for the numerical experiments. The simulated results revealed seasonal variation in circulation patterns associated with monsoonal winds. Surface currents always moved downwind, generating reverse circulation caused by the replenishment of water in deeper layers. Surface divergence and convergence were observed to correspond to the development of upwelling and downwelling, respectively. Clockwise and counter-clockwise circulation during the southwest and the northeast monsoon influences, consecutively, were prominent in the resulting depth-averaged circulation. The simulated surface currents were validated and found to agree with the observed data. Reverse circulation patterns, however, appeared in July. This could be possibly generated from interannual variations in wind patterns, interaction of water from the central Got, influence from river discharge, or bottom topography. Further investigation is required to clarify the factors and mechanisms relevant to this phenomenon |
en |
dc.journal |
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal. |
|
dc.page |
99-113. |
|