dc.contributor.author |
อนุกูล บูรณประทีปรัตน์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:12:44Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:12:44Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2184 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ทำขึ้นเพื่อพัฒนาอัลกอริธึมเพื่อใช้คำนวณค่าความเค็มจากคุณสมบัติเชิงแสงที่เกี่ยวข้องกับสารอินทรีย์ละลายน้ำ (DOM) ในบริเวณอ่าวไทยตอนบน ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้จากการสำรวจคุณภาพน้ำและคุณสมบัติเชิงแสงของน้ำในบริเวณอ่าวไทยตอนบน ระหว่างเดือนตุลาคมและธันวาคมของปี พ.ศ. 2546 และเดือนมกราคม พฤษภาคม และตุลาคมปี พ.ศ. 2547 พบว่าการแพร่กระจาย ในแนวราบของความเค็มและ DOM มีแนวโน้มที่สอดคล้องกัน โดยบริเวณที่มีความเค็มต่ำจะมีปริมาณของ DOM สูง ซึ่งเปลี่ยนแปลงไป ตามฤดูกาลที่เกี่ยวข้องกับลมมรสุมและการไหลเวียนของกระแสน้ำในอ่าว จากการวิเคราะห์การถดถอยของความสัมพันธ์ระหว่างค่า
ความเค็มและคุณสมบัติเชิงแสงของน้ำทะเลที่เกี่ยวข้องกับ DOM พบว่าอัลกอริธึมที่เหมาะสมต่อการนำไปใช้ประมาณค่าความเค็มใน อ่าวไทยตอนบนอยู่ในรูปของฟังก์ชัน
S = 3.57 ln (Ra) + 32.73, R2 = 0.49
เมื่อ S คือ ค่าความเค็ม (psu) และ Ra คือ Rrs (412)/Rrs (565) โดยที่ Rrs (412) และ Rrs (565) คือค่าการสะท้อนพลังงานที่ความยาวคลื่น 412 nm และ 565 nm ตามลำดับ ความถูกต้องของการประมาณค่าความเค็มตามความสัมพันธ์นี้เปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลขึ้นอยู่กับ อิทธิพลของปริมาณ องค์ประกอบและแหล่งที่มาของ DOM ที่เป็นผลมาจากปริมาณน้ำท่า กิจกรรมของสิ่งมีชีวิตในทะเล และการละลายกลับจากตะกอนที่พื้นทะเล |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
ความเค็ม |
th_TH |
dc.subject |
คุณสมบัติเชิงแสง |
th_TH |
dc.subject |
น้ำทะเล |
th_TH |
dc.subject |
สารอินทรีย์ละลายน้ำ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาอัลกอริธึมโดยใช้คุณสมบัติเชิงแสงของน้ำทะเล เพื่อการประมาณค่าความเค็มบริเวณอ่าวไทยตอนบน |
th_TH |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
2 |
|
dc.volume |
18 |
|
dc.year |
2556 |
|
dc.description.abstractalternative |
This study was conducted to develop an algorithm for salinity estimation based on optical properties related to dissolved organic matter (DOM) in the upper Gulf of Thailand (UGoT). The data used for the analysis were from the survey of cruises in UGoT during October and December 2003 and January, May and October 2004. Horizontal distributions between salinity and DOM suggested that low salinity areas be located in high DOM area. The algorithm
for salinity estimation, derived from regression analysis based on the relationships between salinity and DOM-related optical properties, is as follow;
S = 3.57 ln (Ra) + 32.73, R2 = 0.49
Here S is the estimated salinity and Ra is defined as Rrs (412)/Rrs (565) where Rrs (412) and Rrs (565) are the reflectance at wavelengths 412 nm and 565 nm, respectively. The accuracy of the estimated salinity depended on sources, quantity and composition of DOM which varied seasonally due to the variations of river discharges, biological activities and sediment resuspension in the water column |
en |
dc.journal |
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal |
|
dc.page |
246-254. |
|