dc.contributor.author |
เสาวภา สวัสดิ์พีระ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:54:59Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:54:59Z |
|
dc.date.issued |
2533 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1008 |
|
dc.description.abstract |
หอยเป๋าฮื้อ H. asinine ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นลูกหอยรุ่น F1 ที่มีอายุ 5 เดือน จากศูนย์พัฒนาการประมงทะเลฝั่งตะวันออก จังหวัดระยอง เมื่อเริ่มต้นการทดลอง ลูกหอยมีน้ำหนักเฉลี่ย 0.47±0.16 กรัม และ ความกว้างเฉลี่ย 13.61±1.45 เซนติเมตร สาหร่อยที่ใช้เป็นอาหารของหอยเป๋าฮื้อในการทดลองครั้งนี้ได้แก่ Gracilaria salicornia G. fisheri,sp.,Sargassum sp.Enterromorpha sp.ทำการทดลองเป็นเวลา 16 สัปดาห์ ในระบบน้ำหมุนเวียนกึ่งเปิด โดยคุณภาพระหว่างการทดลองมี ความเค็ม 32-34 ส่วนต่อพัน อุณหภูมิ 26-29 องศาเซลเซียส ความเป็นกรดด่าง 7.7-8.1 ปริมาณแอมโมเนีย 0.00-0.26 มิลลิกรัมต่อลิตร และไนเตรต 0.00-0.13 มิลลิกรัมต่อลิตร
หอยเป๋าฮื้อ H.asinina ที่เลี้ยงด้วย Acathophora sp., G. fisheri และ G. salicornia เป็นกลุ่มที่มีอัตราการเจริญสูงสุดและไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยมีขนาดเมื่อสิ้นสุดการทดลองดังนี้ หอยเป๋าฮื้อที่เลี้ยง Acanthophora sp., G. fisheri และ G. salicornia มีน้ำหนัก 0.99±0.39, 0.97±0.39 และ 0.90±0.41 กรัมและความยาวเปลือก 17.25±2.15,16.55±2.20 และ 16.71±2.30 มิลลิเมตร ตามลำดับ
อัตราการรอดของ H. asinina ที่เลี้ยงด้วย G. fisheri, Acanthophora sp.,G. salicornia, Sargassum sp. และ Enterromorpha sp. เท่ากับ 96.67,95.00,93.33,33.33 และ 0.00 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ
คุณค่าทางอาหารของสาหร่ายที่ใช้ในการทดลองพบว่ากลุ่มที่มีปริมาณโปรตีนสูง ได้แก่ Acanthophora sp. (16.35%), Enterromorpha sp. (16.08%),G. salicornia (16.02%), G. fisheri (14.38%) และ Sargassum sp. (8.16%) ตามลำดับ G. salicornia และ Acanthophora sp.มีปริมาณคาร์โบไฮเดรตสูงที่สุด G. fisheri และ Sargassum sp.มีปริมาณเส้นไยสูงที่สุด และปริมาณไขมันในสาหร่ายทั้งห้าชนิดไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
หอยเป๋าฮื้อที่เลี้ยงด้วย G. fisheri, G. salicornia และ Acanthophora sp. มีอัตราการกินอาหารเท่ากับ 0.45, 0.39 และ 0.35 กรัมต่อวันต่อตัว ตามลำดับ และหอยเป๋าฮื้อที่เลี้ยงด้วย Acanthophora sp., G. fisheri และ G. salicornia มีอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อเท่ากับ 2.79, 3.60 และ 3.95 ตามลำดับ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
หมวดเงินทุนอุดหนุน งบประมาณประจำปี 2533 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
หอยเป๋าฮื้อ - - การเจริญเติบโต |
th_TH |
dc.subject |
หอยเป๋าฮื้อ - - การเลี้ยง |
th_TH |
dc.subject |
หอยเป๋าฮื้อ - - วิจัย |
th_TH |
dc.subject |
หอยเป๋าฮื้อ - - อาหาร |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดของหอยเป๋าฮื้อ Haliotis asinina เมื่อเลี้ยงด้วยสาหร่ายต่างชนิด |
th_TH |
dc.title.alternative |
Growth and survival rate of abalone, haliotis asinina feed with different macroalgae |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2533 |
|
dc.description.abstractalternative |
The Haliotis asinina were obtain from Eastern Marine Fisheries Development Center Rayong Province. The average sizes of sample were 0.47+-0.16 g in weight and 13.61+-1.45 mm in length. Feed treatment was Gracikaria salicornia, G. fisheri, Acanthophora sp., Sargassum sp. and Enteromorpha sp. The experiment was done in 16 weeks. The abalone were cultured in semi-flow-through system. Water qualities during the experimental period were salinity 32-34 [art per thousand, temperature 26-29 degree Celsius, pH 7.7-8.1, ammonia 0.00-0.26 mg per liter and nitrite 0.00-0.13 mg per liter.
The growth of abalone in Acanthophora sp., G fisheri and G. salicornia treatments was 0.99+-0.39, 0.97+-0.39 and 0.90+-0.41 g in weight and 17.25+-2.15, 16.55+-2.20 and 16.71+-2.30 mm in shell length respectively. The abalone in Sargassum sp. was lowest growth rate.
At the end of experiment, the survival rate of abalone in Acanthophora sp., G. fisheri and G. salicornia, Sargassum sp. and Enteromorpha sp. treatments were 96.67,95.00,93.33,33.33 and 0.00 percents, respectively.
Crude protein was high in Acanthophora sp. (16.35%), Enteromorpha sp. (16.08%), G. salicornia (16.02%), G. fisheri (14.38%) and lowest in Sargassum sp. (8.16%). Crude carbohydrate was high in G. salicornia and Acanthophora sp. Fiber was high in G. Fishei and Sargassum sp. Fat contents in these five species of algae were not significantly different.
Feeding rate of abalone H. asinina in G. fishrei, G. salicornia and Acanthophora sp. were 0.45, 0.39 and 0.35 g/day/individual, respectively. The food conversion rate, FCR, of abalone in Acanthophora sp., G fisheri and G. salicornia was 2.79, 3.60 and 3.95, respectively |
|