กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9937
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุชาติ เถาทอง
dc.contributor.advisorจินดา เนื่องจำนงค์
dc.contributor.authorสราวุธ อิศรานุวัฒน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:36:13Z
dc.date.available2023-09-18T07:36:13Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9937
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทเดิมของตลาดโบราณนครเนื่องเขต เพื่อเป็นแนวทางในเชิงอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม อัตลักษณ์ของตลาดโบราณนครเนื่องเขตที่มีความแตกต่างจากตลาดโบราณอื่น ๆ และออกแบบพื้นที่ชุมชนตลาดโบราณนครเนื่องเขต ในเชิงอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน โดยชุมชนมีส่วนร่วมในกระบวนการค้นหาปัญหาความต้องการโดยมีขั้นตอนการดำเนินการและผลการวิจัยดังนี้ ศึกษาวิถีชีวิต สังคม ชุมชน อาคาร สิ่งปลูกสร้าง สถาปัตยกรรม และสิ่งอำนวยความสะดวก ตลาดโบราณนครเนื่องเขต พื้นที่ในการวิจัย คือ ตลาดโบราณนครเนื่องเขต ตำบลนครเนื่องเขต อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ ความเป็นเอกลักษณ์ของตลาดโบราณนครเนื่องเขตที่มีความแตกต่างกับตลาดเก่าโบราณอื่น ๆ ในด้านวิถีการดำเนินชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี อาหาร รูปแบบ สถาปัตยกรรม อาคารสิ่งปลูกสร้างและทำการออกแบบพื้นที่ชุมชนตลาดโบราณนครเนื่องเขต เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยววัฒนธรรม ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนตลาดโบราณนครเนื่องเขต นักท่องเที่ยวและผู้นำชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน เก็บข้อมูลโดยการสังเกตและจดบันทึก การสัมภาษณ์เชิงลึกการสนทนากลุ่ม และการสัมมนาการวิเคราะห์ข้อมูลด้านเนื้อหา สรุปองค์ประกอบหลักและนำไปเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับการวิจัย ผลการวิจัย พบว่า บริบทตลาดโบราณนครเนื่องเขตที่ควรอนุรักษ์ ได้แก่ อาคารสิ่งปลูกสร้างของใช้โบราณ สิ่งที่ควรพัฒนา ได้แก่ พัฒนารูปแบบอักษรที่เป็นเอกลักษณ์ของตลาด และพัฒนาตราสัญลักษณ์ตลาด อัตลักษณ์ของตลาดโบราณนครเนื่องเขตคือ มีชุมชนอยู่สองฝั่งคลองโดยมีสะพานข้าม ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของตลาดการสัญจรในอดีตใช้ทางเรือเป็นหลัก ปัจจุบันก็ยังมีการสัญจรทางเรือให้เห็นอยู่และการออกแบบพื้นที่ประกอบด้วย ซุ้มประตูปากทางตลาด ศาลาท่าน้ำ ที่ครอบถังขยะ กราฟิกบน ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกและจุดถ่ายรูป ผลของการออกแบบพื้นที่ชุมชนตลาดโบราณนครเนื่องเขตในเชิงอนุรักษ์รองรับเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก สรุปได้ว่า ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนต้องบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อดำเนินการออกแบบพื้นที่ชุมชนตลาดโบราณนครเนื่องเขต โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อเป็นการอนุรักษ์ แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม วิถีการดำเนินชีวิตของชุม
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subjectตลาด -- การอนุรักษ์และฟื้นฟู
dc.subjectตลาด -- การออกแบบและการสร้าง
dc.subjectวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.titleการออกแบบพื้นที่ชุมชนตลาดโบราณนครเนื่องเขตในเชิงอนุรักษ์รองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
dc.title.alternativeA culturl conservtism design for the community re in nkorn nueng khet ncient mrket supporting the estern economic corridor (eec))
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the original context of Nakorn Nueng Khet ancient market as a guideline for the cultural conservatism for tourist attractions and identity of Nakorn Nueng Khet antique market which is different from other ancient markets as well as Nakorn Nueng Khet ancient market community design in the conservation and development of cultural tourist sites supporting the Eastern Economic Corridor (EEC). The process and results of the research were as follows: studying the lifestyle, society, community, buildings, constructions, architecture and facilities in Nakhon Nueng Khet Antique Market. The research area was the Nakhon Nueng Khet Antique Market, Nakhon Nueng Subdistrict, Mueang District, Chachoengsao Province. Moreover, the uniqueness of Nakorn Nueng Khet ancient market which is different from other ancient markets in terms of lifestyle, culture, traditions, food, architectural styles, building and construction, is studied, analyzed, and synthesized. The area of the ancient Nakorn Nueng Khet market community area was designed for the conservation and development of cultural tourist sites.Data providers included people who live in the ancient Nakorn Nueng Khet market community, tourists, and community leaders, both public and private. Data collected by observation and note taking, In-depth interviews, group discussions, and seminars. Then, content analysis and summary of key components were linked to the research relationship. The result of the research showed that the context of Nakorn Nueng Khet ancient market that should be preserved include buildings, constructions, and antique appliances. Things that should be developed include a font that is unique to the market and the market logo. The identity of the Nakorn Nueang Khet antique market is that there is a community on both sides of the canal with a bridge crossing which is unique to the market. In the past, traveling was mainly used by boat. Currently, there is still boat traffic to be seen. And, the area design consists of the entrance gate of the market, waterfront pavilion, trash cover, graphics on souvenir products, and photo spots. The effect of Nakorn Nueng Khet ancient market community design supporting the Eastern Economic Corridor (EEC) can be concluded that both the public and private sectors should be integrated for Nakorn Nueng Khet ancient market community design by community participation in order to preserve the cultural tourist attraction and community lifestyle.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
55810067.pdf11.32 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น