กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/989
ชื่อเรื่อง: | การศึกษาภูมิคุ้มกันและการประยุกต์ใช้บีต้ากลูแคนในหอยหวาน Babylonia areolata Link 1807 |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | The immune system and application of B-1,3 glucan in Babylonia areolata Link 1807en |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | ชลี ไพบูลย์กิจกุล มลฤดี สนธิ เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล บัญชา นิลเกิด มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล |
คำสำคัญ: | การตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน หอยหวาน - - วิจัย หอยหวาน - - การเลี้ยง สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
วันที่เผยแพร่: | 2553 |
สำนักพิมพ์: | คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี |
บทคัดย่อ: | จากการศึกษาเม็ดเลือดหอยหวานโดยเทคนิคทางกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบเม็ดเลือด 2 ชนิด คือ เวลล์ไฮยาลิโนไซต์ และแกรนูลโซตื (1) เซลล์ไฮยาลิโนไซต์ มีนิวเคลียสขนาดใหญ่ และในไซโตพลาสซึมมีแกรนนูลในปริมาณที่น้อยมาก หรือไม่มีเลย (2) เซลล์แกรนนูลไซต์ ประกอบไปด้วย,เซลล์ที่มีทั้งแกรนนูลขนาดเล็ก และแกรนูลขนาดใหญ่มากมาย เซลล์ชนิดนี้พบในปริมาณมากกว่าไฮยาลิโนไซต์ และน่าจะเป็นเซลล์หลัก ที่ทำหน้าที่ในการต่อต้านการติดเชื้อโรคของหอยหวาน สำหรับการทดลอง การยอมรับเชื้อของหอยหวาน เมื่ออยู่ในสภาวะความเครียด อันเนื่องมาจากคุณภาพน้ำ พบว่า การยอมรับเชื้อของหอยหวานจะเพิ่มมากขึ้น เมื่อปริมาณไนไตร์ทเพิ่มขึ้น และอุณหภูมิสูงขึ้นที่ 32 องศาเซลเซียส และจากการทดลองใช้ในครั้งนี้พบว่า ปัจจัยคุณภาพน้ำต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป มีผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของหอยหวาน นอกจากนี้ยังพบว่า เบต้ากลูแคน สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันของหอยหวานได้ดีที่สุด เมื่อแช่หอยหวาน 24 ชั่วโมง ก่อนนำไปเลี้ยงที่สภาวะปกติ รวมทั้ง เบต้า-กลูแคน มีผลส่งเสริม bactericidal activity ในน้ำเลือดของหอยหวานเช่นกัน |
URI: | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/989 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2566_177.pdf | 3.05 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น