กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/97
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุบัณฑิต นิ่มรัตน์ | th |
dc.contributor.author | วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย | th |
dc.contributor.author | วรเทพ มุธุวรรณ | th |
dc.contributor.author | เสาวภา สวัสดิ์พีระ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:45:47Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:45:47Z | |
dc.date.issued | 2547 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/97 | |
dc.description.abstract | การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการย่อยสลายของสารไตรบิวทิลทิน (TBT) ไดบิวทิลทิน (DBT) และโมโนบิวทิลทิน (MBT) ในน้ำทะเล ตะกอนดินและหอยหวาน รวมทั้งศึกษาชนิดและปริมาณของสารประกอบบิวทิลทินที่น่าจะมีผลทำให้เกิดการ Imposex ในหอยหวาน ผลการทดลองปรากฏว่าเมื่อทำการทดลองใส่สาร TBT, DBT หรือ MBT ทีความเข้มข้นที่ต่างกันคือ 5 หรือ 10 ug/L พบว่า TBT, DBT หรือ MBT ทั้ง 2 ความเข้มข้นเกิดการย่อยสลายในน้ำทะเลและเกิดผลผลิตโดย TBT จะถูกเปลี่ยนแปลงเป็นสาร DBT และ MBT ตามลำดับ ส่วนสาร DBT จะถูกย่อยสลายให้เป็น MBT ในขณะที่ MBT เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสารอื่นๆ ที่ไม่ได้ทำการตรวจวัด และสารผลผลิตเหล่านี้ได้เกิดการย่อยสลายในเวลาต่อมา นอกจากนี้สารพิษตัวตั้งต้นทั้ง 3 ชนิดและสารผลผลิตจากการย่อยสลายได้มีการสะสมในดินตะกอนชั้นบนและชั้นล่างในปริมาณที่ค่อนข้างสูงและค่อยๆ ลดลงตามระยะเวลาการทดลอง สำหรับในหอยหวานพบว่า มีการสะสมสารพิษตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ในปริมาณน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับการสะสมในน้ำทะเลและในดินตะกอนทั้งชั้นบนและชั้นล่าง ในขณะเดียวกันสาร TBT, DBT และ MBT สามารถกระตุ้นทำให้เกิด imposex ในหอยหวานได้แกต่มีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของสารโดยพบว่าสาร TBT มีความเป็นพิษที่ทำให้เกิด imposex ได้สูงสุดและรองลงมาคือสาร MBTและ DBT | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การย่อยสลายทางชีวภาพ | th_TH |
dc.subject | การเปลี่ยนเพศในสัตว์นน้ำ | th_TH |
dc.subject | ไตรบิวทิลทิน | th_TH |
dc.subject | สารประกอบดีบุก | th_TH |
dc.subject | หอยหวาน - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | หอยหวาน | th_TH |
dc.subject | ไตรบิวทิลทิน - - การย่อยสลายทางชีวภาพ | th_TH |
dc.subject | ไตรบิวทิลทิน - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การย่อยสลายทางชีวภาพของสารประกอบไตรบิวทิลทินและความเป็นไปได้ในการทำให้เกิด Imposex ในหอยหวาน (Babylonia areolata) | th_TH |
dc.title.alternative | Biodegradation of tributyltin and the incidence of imposex induced by tributyltin in babylonia areolata | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2547 | |
dc.description.abstractalternative | The objective of the present study was to evaluate the biodegradation of tributyltin (TBT), dibutyltin (DBT) and monobutyltin (MBT) in water column, sediments and Babylonia areolata, and the possibility of three tested chemicals on the induction of imposex in B. areolata. Obtained results showed that all tested chemicals were biodegraded in water column; TBT was transformed into DBT and MBT, respectively, while DBT was converted to MBT. Its metabolites were removed from the water column during the experimental study. At the beginning of the experiment, the amount of parent compounds and their metabolites accumulated in the upper and lower parts of sediments were higher than those observed in the water column. However, both parent compounds and its metabolites in sediments were degraded and decreased during the course of study. On the contrary, there were relatively low levels of parent compounds and its metabolites in B. areolata, compared to those in sediments and water column. Finally, all tested butyltin compounds can induce the imposex in B. areolata despite different degree of success. Higher incidence of imposex was observed in B. areolata treated with TBT than MBT and DBT, respectively. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
subundit.pdf | 1.3 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น