กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9690
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุณี หงษ์วิเศษ
dc.contributor.authorวรางคณา อุดหนุน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-09-18T07:09:25Z
dc.date.available2023-09-18T07:09:25Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9690
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรีและเพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรีจำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้สุทธิต่อเดือนและระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชนแห่งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 350 คน ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรีอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.32) เมื่อพิจารณาการมีส่วนร่วมรายด้านพบว่า ประชาชนตำบลท่าข้ามมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์มากที่สุด โดยมีระดับการมีส่วนร่วมในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 2.44) รองลงมา คือการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน มีระดับการมีส่วนร่วมในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.33) การมีส่วนร่วมตัดสินใจ มีระดับการมีส่วนร่วมในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.21) ตามลำดับ การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล มีระดับการมีส่วนร่วมในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.11) ซึ่งประชาชนตำบลท่าข้ามมีส่วนร่วมน้อยที่สุด และจากการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรีแยกตามลักษณะส่วนบุคคล พบว่าประชาชนที่มีอายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้สุทธิต่อเดือน และระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชนที่แตกต่างกัน มีระดับการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนประชาชนที่มีเพศแตกต่างกัน มีระดับการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม
dc.subjectการมีส่วนร่วมของประชาชน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativePublic prticiption in the dministrtion of th khm sub-district dministrtive orgniztion, mphoe phnt nikhom, chon buri province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine a level of public participation in the administration of Tha Kham Sub-district Administrative Organization, Amphoe Phanat Nikhom, Chon Buri Province. Also, this study intended to compare the level of public participation in the administration of Tha Kham Sub-district Administrative Organization as classified by personal factors, including gender, age, marital status, educational level, occupation, net amount of income, and length of residency in the community. This is a qualitative study that used a questionnaire, completed by 350 people. The results of the study revealed that the level of public participation in the administration of Tha Kham Sub-district Administrative Organization,in Amphoe Phanat Nikhom,Chon Buri Province was at a moderate level (mean = 2.33). When considering each aspect of participation, the subjects participated at the highest level in being co-receivers of benefits (mean = 2.44), followed by the aspect of implementation (mean = 2.33), and decision-making (mean = 2.21), respectively. Also, it was found that the subjects participated at the lowest level in following-up and evaluation (mean = 2.11).In addition, based on the results from the comparisons, there were statistically significant differences in the level of public participation among the subjects with different age, marital status, educational level, occupation, net amount of income, and length of residency in the community at a significant level at .05. Finally, there was no statistically significant difference in the level of participation among the subjects who had different gender.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารทั่วไป
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59930122.pdf1.59 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น