กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9550
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorประลอง ศิริภูล
dc.contributor.authorนพดล บุตรวงษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T06:43:00Z
dc.date.available2023-09-18T06:43:00Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9550
dc.descriptionงานนิพนธ์ (น.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractจากการศึกษาปัญหาทางกฎหมายกรณีการรับฟังข้อมูลจากผู้กระทําผิดในคดียาเสพติด ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 100/2 พบว่า กฎหมายดังกล่าวยอมรับหลักการการต่อรองรับสารภาพ เพราะหากผู้ให้ถ้อยคําไม่ให้ข้อมูลอันสําคัญและเป็นประโยชน์นําไปสู่การปราบปรามการกระทําความผิด และสอดคล้องกับทฤษฎีควบคุมอาชญากรรม (The crime control model) ถือได้ว่ามีการกลั่นกรองคดีมาแล้วจากพนักงานอัยการกับผู้ต้องหา ทําให้สามารถดําเนินคดีไป ด้วยความเป็นธรรมในประเด็นต่อมา มาตรา 100/2 ได้บัญญัติ “ผู้ต้องหาให้ข้อมูลที่สําคัญและเป็นประโยชน์ในการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ศาลอาจจะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกําหนดไว้สําหรับความผิดนั้นก็ได้” ถือว่า เป็นการใช้ดุลพินิจของศาลที่จะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกําหนดไว้สําหรับความผิดนั้นก็ได้ซึ่งในทางปฏิบัติก็ใช้ดุลพินิจที่แตกต่างกันออกไปอีกทั้งแนวทางในการรับฟังคําให้การของพยานในชั้นสอบสวนถือเป็นปัญหาในทางปฏิบัติสําหรับผู้ปฏิบัติอย่างมากในการจะขอความร่วมมือจากผู้กระทําความผิดเพื่อให้ความร่วมมือในการให้ถ้อยคําอันเป็นประโยชน์เพื่อขยายผลในคดียาเสพติดต่อไป ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะดังต่อไปนี้ สํานักงานตํารวจแห่งชาติควรจัดทําระเบียบและข้อบังคับ สําหรับการปฏิบัติตามข้อมูลและถ้อยคําอันเป็นประโยชน์ในการปราบปรามการกระทําความผิดยาเสพติดเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติกรณีที่เจ้าพนักงานในชั้นจับกุม และเจ้าพนักงานในชั้นสอบสวนได้รับข้อมูลผู้ให้ถ้อยคําแล้วต้องเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อพิจารณาอนุมัติโดยอาจกําหนดระยะเวลา นับตั้งแต่วันที่ได้รับข้อมูล และหากเป็นผลให้สามารถจับกุมผู้กระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ให้เจ้าพนักงานนั้น นําเสนอบันทึกการจับกุม และบันทึกการสอบสวน เสนอต่อศาล และเข้าเบิกความเป็นพยาน เพื่อประโยชน์ของผู้ให้ถ้อยคําได้รับการพิจารณาลดโทษจากศาลต่อไป นอกจากนี้ควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 100/2 ดังนี้ “ถ้าศาลเห็นว่าผู้กระทําความผิด ผู้ใดได้ให้ข้อมูลที่สําคัญ…ให้ศาลลงโทษผู้นั้นน้อยกว่าอัตราโทษขั้นต่ำที่กําหนดไว้สําหรับความผิดนั้น
dc.language.isoth
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectยาเสพติด
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายและอาชญาวิทยา
dc.subjectกฎหมายยาเสพติด
dc.subjectยาเสพติดกับอาชญากรรม
dc.titleปัญหาทางกฎหมายกรณีการรับฟังข้อมูลจากผู้กระทำผิดในคดียาเสพติดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 100
dc.title.alternativeLegl problems on ccepting of informtion from nrcotic offendersin ccordnce with the section 100/2 of nrcotics ct b.e. 2522 (1979)
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe studying of legal problems on accepting of information from narcotic offenders in accordance with the Section of 100/2 of Narcotics Act B.E. 2522 (1979) found that negotiation and confession was accepted by such law. The reason was if informants did not give important and useful information, it would lead to the suppression of offences and was conformed to the Crime Control Model. It was regarded as having good case consideration from prosecutors and offenders that could be prosecuted with justice. The next issue was the Section of 100/2 prescribed as; “any offender has given the important information for the very benefit of suppressing the commission of offence relating to narcotics to administrative official or police official or inquiry official, the Court may inflict less punishment than the rate of minimum punishment as provided for such the committed offence”. This was regarded as a using of judicial discretion to inflict less punishment than the rate as prescribed by the law for such offence, whereas there were differences on using of judicial discretion in practice. In addition, guidelines for accepting testimonies of witnesses in interrogation process was a difficult problem in practice for practitioners to ask offenders’ cooperation to give their voluntary statements for further extending results of narcotics case. The researcher had some suggestions as follows; the Royal Thai Police should issue rules and regulations as guidelines for complying with those useful information and testimonies to suppress narcotic offences. In case of officers received any information from informants already, both in arrest and interrogation process, they had to inform their chiefs for consideration and approval. If narcotic offenders could be arrested, officers had to submit the court with arrest and interrogation records as well as to testify for informants’ benefit to reduce the court’s punishment. Moreover, the Section of 100/2 of Narcotics Act B.E. 2522 (1979) should be amended as follows; “If the Court is of opinion that any offenders has given the important information … the Court may inflict less punishment than the rate of minimum punishment as provided for such the committed offence
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineกฎหมายและอาชญาวิทยา
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
54921134.pdf1.24 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น