กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9206
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorดุสิต ขาวเหลือง
dc.contributor.advisorสิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์
dc.contributor.authorสุนิสา ทรัพย์สูงเนิน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T09:02:39Z
dc.date.available2023-06-06T09:02:39Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9206
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างก่อนเรียนและ หลังเรียน ในรายวิชา หลักการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 สาขาการบัญชี ที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรม การทำงานกลุ่มของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 สาขาการบัญชี ที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 สาขาการบัญชี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาการบัญชี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 วิทยาลัยเทคโนโลยี สายมิตรปราจีนบุรี อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี จำนวน 1 ห้องเรียน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) มีนักศึกษาทั้งหมด 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัด การเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 4) แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา ใช้แบบแผนการวิจัย One group pretest-posttest design สถิติที่ใช้ในการวิจัยการวิเคราะห์ข้อมูล ครั้งนี้ใช้ ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ทดสอบค่า t-test แบบ Dependent sample ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 สาขาการบัญชี มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่1 สาขา การบัญชี ที่เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD อยู่ในระดับดี (X = 2.60, SD = 0.59) 3. ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 สาขาการบัญชี อยู่ในระดับมาก ( X = 4.49, SD = 0.57)
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.subjectการบัญชี -- การศึกษาและการสอน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1 สาขาบัญชี
dc.title.alternativeThe results of lerning through collbortive std technique of first yer high voctionl certificte ccounting progrm students
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were; 1) to study the learning achievement on preliminary accounting principle 1 of first year high vocational certificate students in accounting program who were studied using the collaborative leaning STAD technique between pretest and posttest scores, 2) to study the group working behaviors of the first year high vocational certificate students and, 3) to study the students satisfaction towards learning activities by using the collaborative learning STAD technique. The sample consisted of 35 students at Saimit Prachinburi Teachnology who studied in the first semester of the academic year 2018, they were selected of cluster random sampling. The research instruments were 4 lesson plans with collaborative learning STAD technique, learning achievement test, group working behavior and satisfaction questionnaire. The design of this research was one group pretest-posttest design. The statistics used for data analysis were means, standard deviation and t-test. The results of the study were as follows: 1. The posttest score of the learning of first year high vocational certificate students who were studied using the collaborative learning STAD technique, was significantly higher than the pretest score at the .05 level. 2. The group working behaviors of first year high vocational certificate students were rated at good level ( X = 2.60, SD = 0.59). 3. The level of students’ satisfaction toward learning activities by using the collaborative learning STAD technique were rated at high level ( X = 4.49, SD = 0.57).
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอน
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
58920589.pdf3.55 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น