กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8588
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorประลอง ศิริภูล
dc.contributor.authorจารุพัฒน์ รูปสง่า
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T04:00:55Z
dc.date.available2023-06-06T04:00:55Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8588
dc.descriptionงานนิพนธ์ (น.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด และทฤษฎีทางกฎหมายการคุ้มครองสิทธิ มนุษยชน ตามนิยามในอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย ตลอดจนกฎหมายศึกษากฎหมายต่างประเทศที่บัญญัติเกี่ยวกับการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย รวมทั้งเพื่อศึกษาสภาพปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิบุคคลมิให้ถูกบังคับให้สูญหายในประเทศไทย และเสนอแนะแนวทางตลอดจนมาตรการในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยการ ดําเนินการศึกษาวิจัยนี้ใช้วิธีการค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการวิจัยเอกสารเป็นหลัก ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันประเทศไทยในฐานะรัฐภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วย การป้องกันบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญ ยังมิได้ดําเนินการอนุวัติการออกกฎหมายภายใน เพื่อให้เป็นไปตามอนุสัญญาดังกล่าว ส่งผลทําให้ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกัน และปราบปรามการบังคับบุคคลให้สูญหายออกมาใช้บังคับ นอกจากนี้ยังพบว่า ปัจจุบัน การกระทําความผิดเกี่ยวกับการการบังคับให้สูญหายในประเทศไทย ยังไม่มีบทบัญญัติที่กําหนดฐานความผิด มาตรการป้องกันและปราบปราม มาตรการเยียวยาผู้เสียหายและมาตรการอื่นที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับข้อบทในอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันบุคคลทุกคนจากการหาย สาบสูญ ส่งผลให้ไม่สามารถดําเนินคดีกับผู้กระทําความผิดและช่วยเหลือเยียวยาผู้เสียหายได้สมดังเจตนารมณ์ของอนุสัญญาระหว่างประเทศที่ประเทศไทยผูกพันตนในฐานะรัฐภาคี จากการศึกษาเห็นควรให้ประเทศไทย ดําเนินการอนุวัติการตามอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญ โดยการออกกฎหมายภายในที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปราม ตลอดจนคุ้มครองบุคคลมิให้ถูกบังคับให้สูญหาย และกําหนดฐาน ความผิดเกี่ยวกับการถูกบังคับให้สูญหายที่ชัดเจน ทั้งนี้เมื่อมีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายดังกล่าว ข้างต้นแล้ว ก็จะส่งผลให้ประเทศไทยสามารถดําเนินการป้องกันและปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับการบังคับบุคคลให้สูญหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถอํานวยความยุติธรรม ให้เกิดขึ้นในสังคมได้อย่างยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับของนานาชาติอีกด้วย
dc.language.isoth
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectบุคคลสูญหาย
dc.subjectบุคคลสาบสูญ
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายและอาชญาวิทยา
dc.titleปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองบังคับบุคคลให้สูญหายในประเทศไทย : ศึกษาการกำหนดฐานความผิดการบังคับบุคคลให้สูญหาย
dc.title.alternativeLegl problem relted to enforced disppernces in thilnd: study offenses to forced disppernces
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the concept. And the legal theory of human rights protection. As defined in the International convention for the protection of all persons from enforced disappearances As well as the law of international law that provides for the protection of all persons from enforced disappearances. Also, to study the state of legal problems concerning the protection of human rights against being forced to lose in Thailand. And recommending As well as measures to address such problems. This research was conducted by researching and collecting data by means of document research. The study indicated that Thailand as a State Party to the International Convention on the Protection of Individuals from Missing Persons It has not yet legislated the adoption of internal legislation in accordance with the Convention. As a result, Thailand has no law against compulsory disappearance. It also found that the current Criminal offense in Thailand. There are no provisions that define the offense, preventive measures and suppression. Remedies and other measures in accordance with the provisions of the International convention for the protection of all persons from forced disappearances. As a result, the offender cannot be prosecuted and the victim can be cured. It is the intention of the international convention that Thailand attaches itself as a State Party. Researchers should see Thailand. Implement the Convention on the Protection of All Persons from Missing Persons. By adopting an internal law that deals with the prevention and suppression. As well as protecting people from being forced to lose. And defect bases on forced disappearance. When the law is amended. This will result in Thailand being able to effectively prevent and suppress the offense related to enforced disappearance. Can sustain justice in society. And is recognized internationally as well
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineกฎหมายและอาชญาวิทยา
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
57920798.pdf5.88 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น