กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8585
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัชนี แตงอ่อน | |
dc.contributor.author | วรรณภัสสร สีทอง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T04:00:55Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T04:00:55Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8585 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (น.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยความผิดเกี่ยวกับการปลอมหรือการแปลงสินทรัพย์ดิจิทัลเป็นการวิจัย เอกสาร (Documentary research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการปลอม หรือการแปลงสินทรัพย์ดิจิทัล หลักกฎหมายเกี่ยวกับการปลอมหรือการแปลงสินทรัพย์ดิจิทัล วิเคราะห์เปรียบเทียบปํญญาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการปลอมหรือการแปลงสินทรัพย์ดิจิทัล สรุปและข้อเสนอแนะ จากการศึกษาวิจัยพบว่า บทบัญญัติเกี่ยวกับการปลอมหรือการแปลงสินทรัพย์ดิจิทัล ยังไม่มีกฎหมายครอบคลุมการบัญญัติกระทําความผิดเกี่ยวกับการปลอมหรือการแปลงสินทรัพย์ดิจิทัล พระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ.2501 จะได้บัญญัติสถานะเงินตรา มีธนบัตรและเหรียญ และมีการบัญญัติพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ.2561อันเป็นการบัญญัติให้สินทรัพย์ดิจิทัลเทียบเท่ากับเงินตรา แต่การกระทําความผิดเกี่ยวกับการปลอมหรือการแปลงเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัลนี้ ยังคงมีเพียงกฎหมายอาญาที่บัญญัติเกี่ยวกับการปลอมและการแปลงเงินตรา เท่านั้น แต่ยังไม่มีกฎหมายใดบัญญัติถึงการปลอมและการแปลงสินทรัพย์ดิจิทัล ผลจากการศึกษาวิจัยจึงมีข้อเสนอแนะ 4 ส่วน 1. การบัญญัติให้การปลอมหรือการแปลง สินทรัพย์ดิจิทัลเป็นความผิดอาญา โดยบัญญัติให้เป็นเหตุฉกรรจ์ 2. การบัญญัติความผิดเกี่ยวกับการปลอมหรือการแปลงสินทรัพย์ดิจิทัลในพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 ได้กําหนดให้เป็นความผิดและมีบทลงโทษที่ชัดเจน 3. การบัญญัติให้ความผิดเกี่ยวกับการปลอมหรือการแปลงสินทรัพย์ดิจิทัล เป็นบทลงโทษเหตุฉกรรจ์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 อันเป็นบทเพิ่มโทษ 4. รัฐควรปรับปรุงกฎหมายให้ รองรับเกี่ยวกับการปลอมหรือการแปลงสินทรัพย์ดิจิทัลให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้กฎหมายต่อสภาพสังคมในปัจจุบัน | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ | |
dc.subject | กฎหมายอาญา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายและอาชญาวิทยา | |
dc.subject | การปลอมแปลง | |
dc.title | ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการปลอมแปลงสินทรัพย์ดิจิทัล | |
dc.title.alternative | Legl issues bout counterfeiting digitl ssets | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Research on counterfeit and conversion of digital assets is documentary research with an objective to study on theories and principles on counterfeit and conversion of digital assets, legal principles on counterfeit and conversion of digital assets; to analyze and compare on implementation issues of law relating to counterfeit and conversion of digital assets; and to provide summary and recommendations thereof. From the research, it shows that there is not law prescribing on counterfeit and conversion of digital assets offences. Although the Currency Act B.E. 2501 (1958) prescribes on status of currencies, notes and coins and the Digital Asset Businesses B.E. 2561 (2018) prescribes on digital assets being considered as “currencies”, however, there is only Criminal Code that prescribing on counterfeit and conversion of digital assets. Based on the findings, there are 4 recommendations proposed: 1. prescription of counterfeit and conversion of digital assets offences as a criminal offence that would receive severe punishment than usual; 2. prescription of counterfeit and conversion of digital assets offences in the Digital Asset Businesses B.E. 2561 (2018); 3. prescription of counterfeit and conversion of digital assets offences to be a criminal offence that would receive severe punishment than usual in Computer Crimes Act B.E. 2550; and 4. The Thai Government should make amendments to the law to adopt counterfeit and conversion of digital assets offences in order to enhance efficiency in implementation which should reflect the current state of society. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | กฎหมายและอาชญาวิทยา | |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
54921171.pdf | 1.76 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น