กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8582
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorประลอง ศิริภูล
dc.contributor.authorภูวิชพนธ์ สุกใส
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T04:00:55Z
dc.date.available2023-06-06T04:00:55Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8582
dc.descriptionงานนิพนธ์ (น.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractพระราชบัญญัติล้างมลทิน ฯ พ.ศ. 2550 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ตราขึ้นเพื่อล้างประวัติการรับโทษให้กับบุคคลที่ต้องโทษทางอาญาที่พ้นโทษก่อนและในวันที่ประกาศใช้พระราชบัญญัติดังกล่าว หากแต่การลบล้างมลทินโดยผลของกฎหมายนั้นเป็นเพียงแค่การลบล้างผลของการลงโทษเท่านั้น ไม่มีผลลบล้างพฤติการณ์ของการกระทําความผิดแต่อย่างใด และในกรณีที่ศาลมีคําพิพากษาให้ผู้นั้นรอการกําหนดโทษหรือรอการลงโทษ ก็จะไม่อยู่ในบทนิยามของผู้ต้องโทษตามพระราชบัญญัติล้างมลทิน ฯ พ.ศ. 2550 ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติล้างมลทิน ฯ พ.ศ. 2550 จากแนวคิดของการล้างมลทินในโอกาสต่าง ๆ มักทําเพื่อเป็นการให้อภัยทาน เป็นการได้บําเพ็ญกุศลอย่างหนึ่ง หรือจะเป็นลักษณะการทําบุญประเทศ แต่พระราชบัญญัติล้างมลทิน ฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 3 คํานิยามของผู้ต้องโทษ ไม่ครอบคลุมถึงผู้ต้องรอการกําหนดโทษหรือรอการลงโทษ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56 2. การรอการกําหนดโทษหรือรอการลงโทษให้แก้จําเลย เพราะเหตุเกี่ยวกับตัวจําเลย เหตุเกี่ยวกับสภาพความผิด เหตุอื่นอันควรปราณี เป็นผู้ไม่ถูกคุมขังเสรีภาพ หรือไม่เคยต้องโทษจําคุกแต่อย่างใดกลับไม่ได้รับสิทธิการแก้ไขทะเบียนประวัติอาชญากร จึงไม่น่าจะถูกต้องตามวัตถุประสงค์ของการล้างมลทิน 3. บุคคลจะถูกขึ้นทะเบียนประวัติอาชญากรตั้งแต่ตกเป็นผู้ต้องหา โดยถูกจัดการข้อมูลตามระบบ โดยสํานักงานตํารวจแห่งชาติกําหนดหลักเกณฑ์เอาไว้ ทั้งความประพฤติหรือการกระทําที่เคยเป็นเหตุให้ถูกลงโทษในกรณีนั้น ยังคงมีอยู่เพื่อใช้โทษอุปกรณ์ ทั้งยังพบว่าเป็นบุคคลผู้มีความประพฤติบกพร่องในศีลธรรมอันดี อาจทําให้เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามและขาดคุณสมบัติบางประการแก้การสมัครเข้ารับราชการหรือประกอบวิชาชีพนั้นได้ 4. แม้ว่าการล้างมลทิน จะไม่มีผลเป็นการลบประวัติอาชญากร แต่เพื่อให้ผู้ต้องโทษจําคุกหรือถูกลงโทษทางวินัยกลับสู่ฐานะเดิมก่อนรับโทษ เสมือนว่าไม่เคยต้องโทษจําคุกหรือถูกลงโทษทางวินัยมาก่อน เช่น การกลับสู่ฐานะเดิมโดยอัตโนมัติภายใน 3 ปีนับแต่วันที่ศาลมีคําพิพากษานั้นให้ล้มละลาย ตามมาตรา 81/1 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 หรือกรณีเทียบเคียง การกลับสู่ฐานะเดิมโดยอัตโนมัติภายใน 3 ปีนับแต่วันที่บริษัทข้อมูลเครดิตได้รับข้อมูลจากสถาบันการเงินที่เป็นสมาชิกตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต พ.ศ. 2545
dc.language.isoth
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายและอาชญาวิทยา
dc.subjectการบังคับใช้กฎหมาย
dc.subjectการลงโทษ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
dc.subjectพระราชบัญญัติล้างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนมพรรษา 80 พรรษา พ.ศ. 2550
dc.titleปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติล้างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนมพรรษา 80 พรรษา พ.ศ. 2550 : ศึกษาผลกระทบต่อผู้ต้องคำพิพากษาให้รอการกำหนดโทษหรือให้รอการลงโทษและการจัดการทะเบียนประวัติอาชญากร
dc.title.alternativeProblems of enforcement ffecting sentenced persons on determintion or suspension of punishment nd criminl records mngement
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativePurge Act B.E. 2550 (2007) was a law enacted for obliterating criminal records of persons who were acquitted prior and on the date of enactment of such law. Purge by the laws was only an obliteration of punishment’s result that not effected to circumstances of offence. Moreover, in case of the court sentences a person with the determination or suspension of punishment is not in the definition of “Convict” under the Purge Act B.E. 2550 (2007) It was found that: 1.Problems on the enforcement ofPurge Act B.E. 2550 (2007) came from an idea of erasing criminal records in special occasions as granting forgiveness, performing a religious charity or making a merit for the country. Whereas, the definition of "Convict" in the Section 3 ofPurge Act B.E. 2550 (2007) was not be covered with defendants who were on the determination or suspension of punishment under the Section 56 of Criminal Code, 2. The determination or suspension of punishment for defendants was caused by the defendants themselves, offence conditions or other causes that should be mercy; they neither be imprisoned nor put in jailbut they were not granted rights to change their criminal records. This was not in accordance with the purposes of purge, 3.Persons had to be registered in the criminal records on the date they were alleged offenders and all records, both of conducts and actions that caused them be punished, were managed as prescribed procedures systematically by Royal Thai Police. It was also found that persons with no good moral behavior might be persons who had forbidden characteristics and be lacked of some qualification to apply for officials or occupations, 4. Although the purge was not effected to obliterate the criminal records, but its purpose was to bring prisoners or persons with disciplinary punishment back to their previous statuses prior the punishment as they were neither imprisoned nor punished before e.g. back to previous status automatically within 3 years as from the date of the adjudication of bankruptcy under the Section 81/1 of Bankruptcy Act B.E. 2483 (1940) or the comparative case of returning to previous status automatically within 3 years as from the date of a credit information firm receiving data from a financial institution according to Credit Information Business Act B.E. 2545 (2003)
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineกฎหมายและอาชญาวิทยา
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
54921158.pdf1.52 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น