กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8542
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เทพศักดิ์ ทองนพคุณ | |
dc.contributor.advisor | ปิติวรรธน์ สมไทย | |
dc.contributor.author | พัทรา ผดุงสุนทรารักษ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T03:53:49Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T03:53:49Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8542 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | เศรษฐกิจทุนนิยมและการพัฒนาด้านเทคโนโลยีในศตวรรษที่ 20 ได้ผลักดันให้ประชากรโลกส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงเข้าสู่วัฒนธรรมบริโภคนิยมซึ่งเน้นความสะดวกสบาย ความทันสมัย และการบริโภคเกินความจำเป็นในการดำรงชีวิตส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและวิถีชีวิตของมนุษย์โดยตรง จึงเกิดการรณรงค์เพื่อสร้างจิตสำนึกอนุรักษ์ขนานใหญ่ในศตวรรษที่ 21 ทั้งจากองค์กรของรัฐและเอกชน แต่อย่างไรก็ตาม ความเคยชินกับความสะดวกสบายไม่ได้เปลี่ยนแปลงกันอย่างง่ายดาย จึงเกิด พฤติกรรมที่ขัดแย้งกันเอง มีให้เห็นอยู่ทั่วไป การอนุรักษ์ธรรมชาติจึงเป็นเพียงวาทกรรมที่ยังไม่เห็นผลในเชิงรูปธรรม นำประเด็นเหล่านี้มาตีความในการสื่อสารเป็นภาพจำนวน 4 ชิ้น คือ 1. อาหารการกิน 2. ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม 3. สุขภาพและการเยียวยา 4. ยานพาหนะและการเดินทางเพื่อสะท้อนภาพทางสังคมและกระตุ้นเตือนผู้บริโภคให้ตระหนักและถึงเวลาที่ควรปฏิบัติกันอย่างจริงจัง | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.subject | ศิลปกรรม | |
dc.title | การสร้างสรรค์ศิลปกรรม : บริโภคนิยมกับวาทกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติ | |
dc.title.alternative | บริโภคนิยมกับวาทกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติ,The cretion consumerism nd preservtion discourse | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Capitalism and technological development in the 20th century have pushed the majority of the world's population into Consumerism culture that emphasizes convenience, modernity and over-consumption. Affect the ecosystem and the way people live. There is a campaign to raise awareness in the 21st century, both from public and private organizations. However Convenience does not change easily. The conflicting behavior are visible Nature conservation is just a discourse that does not see concrete results. These issues are discussed in four visual communications: 1. Food, 2. Housing and Environment, 3. Health and healing, 4. Vehicles and travel to reflect the social image and encourage consumers to be aware, and timing of seriously practice. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | ทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.degree.name | ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
56920644.pdf | 3.11 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น