กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8516
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมชาย เซะวิเศษ | |
dc.contributor.advisor | เกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง | |
dc.contributor.author | บิน, วู | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.contributor.other | Bin, Wu | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T03:45:02Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T03:45:02Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8516 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาวิธีการอนุรักษ์และพัฒนาหัตถกรรมแบบดั้งเดิมของประเทศจีนไว้เป็นแนวทางตัวอย่างในการพัฒนาการออกแบบหัตถกรรมแบบดั้งเดิม ตลอดจนสามารถนําวิธีการที่ค้นพบมาประยุกต์ใช้และสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมแบบดั้งเดิมใหม่ด้วยเทคนิคการฟื้นฟูผลิตภัณฑ์เดิม จากการศึกษาพบว่า ในยุคโลกาภิวัฒน์นี้ผลงานหัตถกรรมแบบดั้งเดิมกลายเป็นสิ่งของเครื่องใช้ที่ล้าสมัย ไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตในปัจจุบันและไม่มีที่ยืนในตลาดส่งผลให้งานหัตถกรรม แบบดั้งเดิมของท้องถิ่นกําลังค่อย ๆ สาบสูญไปจากประเทศและถูกแทนที่ด้วยเครื่องใช้และสินค้า อุตสาหกรรมที่มีเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่ ทั้งนี้ เมื่อผู้วิจัยได้ศึกษาตัวอย่างโครงการการพัฒนาการออกแบบหัตถกรรมแบบดั้งเดิมตามแนวคิดแบบเบาเฮาส์ (Bauhaus) ลัทธิสมัยนิยม (Neomodernism) OVOP (One Village One Product) OTOP (One Tambon One Product) และแนวคิดการออกแบบใหม่ พบว่า หัตถกรรมแบบดั้งเดิมในแต่ละประเทศมีขนาดกิจการที่หลากหลายและมี รูปแบบการมีส่วนร่วมของเอกชนและรัฐวิสาหกิจด้วยแต่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม มีเพียงส่วนน้อย เท่านั้นที่รัฐบาลให้การสนับสนุนเงินทุนทําให้งานหัตถกรรมแบบดั้งเดิมต้องเผชิญกับปัญหาการแข่งขันทางการตลาดที่สูงถูกตีกรอบทางความคิดและมีข้อผูกมัดต่าง ๆ จํานวนมากจนทําให้ผู้คนในประเทศขาดความคิดสร้างสรรค์และการยอมรับสิ่งใหม่ ๆ ทําให้ผู้วิจัยได้นําระบบ THRD (ระบบ หัตถกรรมแบบดั้งเดิมเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาโดยการออกแบบผ่านความรู้สึก) มาใช้ในการแก้ปัญหาที่หัตถกรรมแบบดั้งเดิมกําลังประสบอยู่ ซึ่งสามารถสร้างประโยชน์ได้ดังนี้ (1) สามารถค้นพบเอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ที่ให้ความสําคัญกับแนวคิด “การออกแบบใหม่” (2) มีแนวทางการทํางานที่น่าสนใจและสามารถดึงดูดให้ผู้ชมเข้ามามีส่วนร่วมได้เป็นจํานวนมาก (3) มีแนวทางการพัฒนาที่หลากหลายและสามารถส่งต่อข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ตพลัส และ (4) สามารถส่ง อิทธิพลต่อระบบการศึกษาในปัจจุบันทั้งในด้านการผลิต การศึกษาและการวิจัยได้เป็นอย่างดี โดยได้กําหนดขอบเขตการดําเนินงานของระบบ THRD เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนไว้คือช่างฝี มือคือ ผู้ให้บริการหลักทางด้านวัฒนธรรมงานหัตถกรรมที่มีเอกลักษณ์ สถาบันอุดมศึกษาคือหน่วยงานที่ผลักดันให้เกิดทีมงานช่างฝี มือที่มีประสิทธิภาพระดับสูง และรัฐบาลคือหน่วยงานที่วางแผนการพัฒนาศิลปหัตถกรรมแบบดั้งเดิมอย่างยั่งยืน | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | หัตถกรรม -- การออกแบบ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.subject | หัตถกรรม -- จีน | |
dc.title | หัตถกรรมแบบดั้งเดิม (THRD) เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาโดยการออกแบบผ่านความรู้สึก | |
dc.title.alternative | Trditionl hndicrft regenertion design (thrd) for conservtion nd development through innovtive method bsed on emotionl design | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research aims to find a preservation and development method for Chinese traditional handcraft as an sample for developing traditional handicraft designs. The method found will be applied to create a recovery technique for new traditional handcraft The study found that in the era of globalization, the traditional handcraft becomes outdated and do not correspond to life in current. It has no market shares in the handcraft market. The traditional handcrafts become faded from the market in the country and are being replaced by industrial appliances produced by new production techniques. The researcher studied on of traditional handcraft design development project according to concept of Bauhaus, Neo-modernism, OVOP (One Village One Product), OTOP (One Tambon One Product) and Re-design, and found that traditional handcrafts business in the country is formed in various scale. Some of them are established in form of the cooperation between public and state enterprise. However, regardless of its form, few of the establishment are financially supported by the government. Therefore, the traditional handcraft industry is now facing a high market competition and has many constrain and limited creativity. It also causes a lack of creativity and acceptance of new ideas. Therefore, the researcher introduced THRD system (Traditional handcraft preservation and development through a design based on feeling) to be apply to solve the problems faced by tradition handicraft. The benefits from this research are as follows: 1) the researcher is able to find an identity of product which is unique as it gives the important to the “new design” 2) the researcher finds an interesting working procedure that attracts a number of people as they are able to participate in the production, 3) constructing found various ways of development and transmit the information through internet plus system, and 4) creating influential product to current education system and production under THRD framework for sustainable development which composed of the technician who, provided the service in cultural works, higher education institute, which is the section creating skillful technicians and government, which plans a suitable sustainable traditional handcraft project. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | ทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
57810061.pdf | 95.17 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น