กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8110
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorนิรันดร์ วิทิตอนันต์
dc.contributor.authorวัลย์ลิกา หวานเสนาะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T07:34:25Z
dc.date.available2023-05-12T07:34:25Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8110
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractเสียงรบกวนในชุมชนเป็นปัญหามลพิษทางเสียงที่สำคัญอย่างหนึ่งของพื้นที่กำลังพัฒนางานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจวัดระดับเสียงในสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนเมืองพัทยา 8 (พัทธยานุกูล) จังหวัดชลบุรี โดยตรวจวัดระดับเสียงในโรงเรียนจำนวน 10 จุด ตรวจวัดระหว่างวันทำงานและวันหยุด ด้วยมาตรวัดระดับเสียง (IEC61672-1 Type 2) การสำรวจทัศนคติของประชากรในโรงเรียนเกี่ยวกับ ปัญหาเสียงรบกวนด้วยแบบสอบถามและสุดท้ายเป็นการประเมินสถานภาพสิ่งแวดล้อมด้านเสียงผลการศึกษาพบว่า ระดับเสียงเฉลี่ยที่ตรวจวัดได้ใน 8 ชั่วโมง (Leq,8hr) และ 24 ชั่วโมง (Leq, 24hr) ส่วนใหญ่มีค่าไม่เกินค่ามาตรฐาน โดยค่า Leq,8hr ในวันทำงาน มีค่าในช่วง 62.90 – 81.53 dB(A) ส่วนวันหยุด มีค่าในช่วง 57.93 – 71.12 dB(A) ส่วนค่า Leq,24hr ในวันทำงานมีค่าในช่วง 62.59 – 75.00 dB(A) ส่วนวันหยุดมีค่าในช่วง 57.99 – 70.65 dB(A) สำหรับค่าระดับเสียงพื้น (L90) ในวันทำงานมีค่าในช่วง 55.90 – 68.60 dB(A) ส่วนวันหยดุ มีค่าในช่วง 50.00 – 66.10 dB(A) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่คิดว่า โรงเรียนมีปัญหาเสียงรบกวน ในระดับปานกลางโดยมีเสียงจากการจราจรและเสียงจากกิจกรรมของชุมชนที่อยู่รอบโรงเรียน เป็นแหล่งกำเนิดเสียงหลักสำหรับผลกระทบของเสียงรบกวนต่อนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน คือเป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ รบกวนการได้ยิน ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานและการเรียนลดลง ทั้งนี้โดยภาพรวมสถานภาพด้านเสียงในสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอยู่ในระดับปานกลาง
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเสียงรบกวน -- การวัด
dc.subjectโรงเรียนเมืองพัทยา 8 (พัทธยานุกูล)
dc.subjectสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน -- ไทย -- ชลบุรี
dc.subjectมลพิษทางเสียง
dc.subjectHumanities and Social Sciences
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.titleการตรวจวัดระดับเสียงในสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนเมืองพัทยา 8 (พัทธยานุกูล) จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeMesurement of environmentl noise level in Ptty city 8 school (Phthy Nu Kul) Chonburi province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeNoise community is the one of the most important environmental problems in the developing area. The objective of this research is on environmental noise measurement in Pattaya City 8 School (Phathya Nu Kul) Chon Buri Province. The noise level in the school was measurement from 10 stations during working days and holidays by sound level meter (IEC61672-1 Type 2). The attitude survey about the noise problem in the school, were collected by questionnaire. In final, the evaluation of the environmental noise situation was evaluated. The results show that most of the equivalent sound level in 8 hours (Leq,8hr) and 24 hours (Leq,24hr) are lower than that of the standards. The Leq,8hr in the working day was in the range of 62.90 – 81.53 dB(A), while the holiday is in the range of 57.93 – 71.12 dB(A). The Leq,24hr in the working day is in the range of 62.59 – 75.00 dB(A), while the holiday is in the range of 57.99 – 70.65 dB(A). The background noise (L90) in the working day is in the range of 55.90 – 68.60 dB(A), while the holiday is in the range of 50.00 – 66.10 dB(A). The attitude of the most respondents about noise problem in the school was moderate level. The main sources of noise were mostly from the traffic and community activities. The impact of the noise to students and staffs in the school were harm to physical and mental health, disturbs hearing and reduce efficient of working and learning. The overall environmental noise situation in the school was evaluated as of moderate level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
56910062.pdf11.33 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น