กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7935
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorรัชนี แตงอ่อน
dc.contributor.authorอมเรศ นทีทอง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T06:14:55Z
dc.date.available2023-05-12T06:14:55Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7935
dc.descriptionงานนิพนธ์ (น.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractงานนิพนธ์ฉบับนี้ได้ศึกษาถึงมาตรการทางกฎหมายในการกําหนดฐานความผิดทางอาญาแก่ผู้กระทําความผิดตามมาตรา 96 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติซึ่งเป็นบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการที่เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งมลพิษต้องรับผิดเมื่อมลพิษจากแหล่งมลพิษดังกล่าวรั่วไหลหรือแพร่กระจายและก่อให้เกิดความเสียหายจากการศึกษาพบว่า เมื่อเกิดการกระทําตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ.2535 มาตรา 96 นั้น แล้วนั้นยังไม่มีฐานความผิดทางอาญาเพื่อการกําหนดโทษแก่ผู้กระทําความผิด แม้พฤติกรรมดังกล่าวเป็นพฤติกรรมที่สมควรจะถูกลงโทษทางอาญาเมื่อได้พิจารณาจากวัตถุประสงค์โดยทั่วไปของการนิติบัญญัติทางอาญาสารบัญญัติและแนวคิดของการกําหนดปริมณฑลของกฎหมายอาญาสารบัญญัติแล้วก็ตาม ทั้งนี้ผู้วิจัยยังได้ศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศญี่ปุ่นและเครือรัฐออสเตรเลียอีกด้วยผู้วิจัยจึงเสนอแนะให้ แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ.2535 โดยเพิ่มบทบัญญัติมาตรา 111/1 ในหมวด 7 บทกําหนดโทษแห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม โดยบัญญัติให้การกระทําตามมาตรา 96 มีความรับผิดและต้องรับโทษในทางอาญาด้วย
dc.language.isoth
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectHumanities and Social Sciences
dc.subjectกฎหมายอาญา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายและอาชญาวิทยา
dc.subjectความผิด (กฎหมาย)
dc.titleมาตรการทางกฎหมายในการกำหนดฐานความผิดทางอาญาแก่ผู้กระทำความผิดตามมาตรา 96 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
dc.title.alternativeLegl mesures for defining crime bse for offendes under section 96 of promotion nd conservtion of ntionl environmentl qulity ct
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis thesis investigated the legal measures in defining criminal offense bases for criminals under Section 96 of Promotion and Conservation of National Environmental Quality Act which the provisions related to the owners or occupiers of sources of pollution having to take responsibilities when pollution from such pollution sources was leaking or spreading and causing of damage. The study found that when the action had been already followed the Promotion and Conservation of National Environmental Quality Act, Section 96, but there were no crime bases in criminal acts to impose penalty to wrongdoer, even though such behavior deserves to be punished by criminal act when it considered from general purpose of criminal legislation, commandment, and concepts of determining the periphery of criminal law. This study also has been compared to the laws of Japan and the Commonwealth of Australia. Researchers recommended to additional amendment of the Promotion and Conservation of National Environmental Quality Act, B.E. 2535 with regard to adding the provisions of Section 111/1 of Chapter 7, penalty section of Promotion and Conservation of National Environmental Quality Act by legislation of actions under Section 96 being liable and punishable by criminal law.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineกฎหมายและอาชญาวิทยา
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf562.37 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น