กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7934
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัชนี แตงอ่อน | |
dc.contributor.author | สุชาติ เดชพิทักษ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:14:55Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:14:55Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7934 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (น.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง ปัญหากฎหมายในการจัดการขยะในลักษณะเปิด: ศึกษากรณีไฟไหม้บ่อขยะ มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาปัญหากฎหมายในการจัดการขยะในลักษณะเปิด: ศึกษากรณีไฟไหม้บ่อขยะ 2. เพื่อศึกษาแนวความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับกฎหมายรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 3. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม กรณีบ่อขยะ 4. เพื่อวิเคราะห์ปัญหากฎหมายสิ่งแวดล้อม กรณีศีกษาไฟไหม้บ่อขยะ 5. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกฎหมายในการจัดการขยะในลักษณะเปิดของในประเทศและต่างประเทศ สามารถสรุปได้ดังนี้ ผลการศึกษา พบว่า การบังคับใช้กฎหมายและการดําเนินการตาม มาตรา 80 แห่ง พระราชบัญญัติด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ยังไม่มีความ เหมาะสมและยังไม่มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเต็มที่จากผู้ที่เกี่ยวข้องในส่วนของเจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกําเนิดมลพิษ, หน้าที่ของพนักงานท้องถิ่น, อํานาจและการดําเนินการของเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ ดังนั้นจึงควรแก้ไขดังนี้ 1. กําหนดคุณสมบัติของเจ้าพนักงานควบคุม มลพิษ โดยแบ่งระดับเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษเป็น 2 ระดับ คือ ระดับปฏิบัติงานและระดับสั่งการ 2.กําหนดระยะเวลาที่ชัดเจนในการให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ดําเนินงาน 3.กําหนดให้คณะอนุกรรมการประสาน การจัดการสิ่งแวดล้อมและอุตสาหกรรม วินิจฉัยชี้ขาด ข้อขัดแย้งระหว่างเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกับพนักงานเจ้าหน้าที่ 4.ยกเลิกประกาศ กระทรวงเกี่ยวกับการแต่งตั้ง เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษที่ไม่สอดคล้องกับกฎหมาย 5.กําหนดเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษที่จะเป็นผู้รับรายงานตามมาตรา 80 ให้ชัดเจน 6.กําหนดให้อํานาจเจ้าพนักงานตามกฎหมายอื่นที่มีอํานาจควบคุมดูแลแหล่งกําเนิดมลพิษสามารถสั่งปิด พักใช้ เพิกถอน ในอนุญาตหรือสั่งให้หยุดใช้หรือทําประโยชน์เกี่ยวกับแหล่งกําเนิดมลพิษด้วยเหตุที่ไม่ปฏิบัติตามข้อกําหนดด้านสิ่งแวดล้อมได้ และ 7. เพิ่มบทลงโทษทางอาญาในกรณีที่ฝ่าฝืนคําสั่งตามมาตรา 82 (2) และ 8.กําหนดให้คณะกรรมการควบคุมมลพิษแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการเฉพาะด้านทําหน้าที่พิจารณาคําร้องคัดค้านคําสั่งเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษในเบื้องต้น | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ขยะ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | |
dc.subject | ขยะ -- การจัดการ | |
dc.subject | Humanities and Social Sciences | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายและอาชญาวิทยา | |
dc.subject | กฎหมาย | |
dc.title | ปัญหากฎหมายในการจัดการขยะในลักษณะเปิด : ศึกษากรณีไฟไหม้บ่อขยะ | |
dc.title.alternative | Legl issues in wste mngement in n open mnner: cse study on fire junk yrd | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was fivefold.First, it aimed at examining legal problems in managing solid waste in open dumps. Also, this study intended to research legal concepts and theories to protect the quality of environment. The third purpose was to examine laws relating to open dumps or landfills. In addition, this study attempted to analyze legal problems in relation to open dumping or landfill fires. The last purpose of this study was to provide suggestions regarding laws in solid waste management in open dumps both in Thailand and foreign countries. The results of the study were as follows: It was revealed that the enforcement of laws based on the article 80 stated in the national act for promoting and maintaining quality of environment B.E. 2535 was not appropriate, and no serious law enforcement was conducted among those involved. There were some improving guidelines for those who were the owners of open dumps, the responsibility of local government officers, and the authorities of government staff who were in charge of pollution control. First, the qualifications of staff responsible for pollution control should be determined by dividing into two levels, including those at a practitioner level and those giving commands. Second, a clear and specific time line should be set for officers to act based on a Factory Act B.E. 2535. In addition, a coordinating committee for environment and factory management should take a decisive role to resolve a dispute or conflict between pollution control officers and other government officers. Fourth, it was found that there was no alignment between an appointment of pollution control officers and what have been stated in the laws. Furthermore, a pollution control officer who would receive reports should be assigned based on the article 80. Also, other officers as stated in laws should be given authorities in monitoring, closing, suspending, and ending the use of pollutant-generating sources that have not complied with environmental laws. The severity of criminal conviction relating to the violation of the article 82(2) should be increased. Finally, a sub-committee who are specifically responsible for examining the forms filed against the pollution control officers’ commands should be appointed by the pollution control committee. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | กฎหมายและอาชญาวิทยา | |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.04 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น