กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7927
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.authorกัญญาภัค เสนาหาร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T06:14:53Z
dc.date.available2023-05-12T06:14:53Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7927
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาวินัยของนักเรียนเปรียบเทียบปัญหาวินัยของนักเรียนจำแนกตามเพศระดับชั้นและแผนการเรียน ศึกษาแนวทางการพัฒนาวินัยนักเรียนโรงเรียนพนัสพิทยาคารจังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่นักเรียนโรงเรียนพนัสพิทยาคารจังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต18 ในปีการศึกษา 2561โดยกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จากตารางกำหนดกลุ่มตัวอย่าง เครจชี่ และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970, pp. 607 - 609) จำนวน 342 คนโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางการพัฒนาวินัยของนักเรียนโรงเรียนพนัสพิทยาคารจังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า5 ระดับ (Rating scale) มีค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .37 - .77 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .95 และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t - test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One - way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัญหาวินัยของนักเรียนโรงเรียนพนัสพิทยาคารจังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับน้อย 2. ปัญหาวินัยของนักเรียนโรงเรียนพนัสพิทยาคารจังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จำแนกตามเพศระดับชั้น และผลการเรียน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. แนวทางการพัฒนาวินัยของนักเรียนโรงเรียนพนัสพิทยาคารจังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ด้านการแต่งกายของนักเรียน มีแนวทางการพัฒนาที่ควรเร่งดำเนินการ คือ ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามวินัยของนักเรียนในด้านการแต่งกาย ครูให้เวลากับนักเรียนมากขึ้นและโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนแต่งกายถูกระเบียบและด้านความประพฤติ ของนักเรียน มีแนวทางการพัฒนาที่ควรรีบดำเนินการ คือครูควรเป็นผู้ชี้นำ และเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่นักเรียน โรงเรียนควรมีการติดตามประเมินการปฏิบัติตามวินัยของนักเรียนอยู่เสมอ และครูให้เวลากับนักเรียนมากขึ้น
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectHumanities and Social Sciences
dc.subjectวินัยในโรงเรียน
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- วินัย
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectวินัย
dc.titleปัญหาและแนวทางการพัฒนาวินัยของนักเรียนโรงเรียนพนัสพิทยาคารจังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18
dc.title.alternativeProblems nd guideddevelopment of students’ discipline in phntpittykrn school under the secondry eduction service re office 18
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the problems concerning student discipline, and compare their problems occurring with students in different gender, class level and learning program. This study also presents guidelines for the development of student description at Phanatpittayakarn School, Chonburi Province, under the Secondary Education Service Area Office 18. The research sample was 342 the students of Phanatpittayakarn School, Chonburi Province, under the Secondary Education Service Area Office 18 of academic year 2018. The sample size was determined by the Krejcie and Morgan Table (Krejcie and Morgan, 1970, pp. 607 - 609) by the stratified random sampling method was used to identify the sample in this study. The research tool for data collection was a questionnaire surveying problems and guidelines for the development of student 5 point discipline in Phanatpittayakarn School, Chonburi Province, under the Secondary Education Service Area Office 18. The rating scale questionnaire had the item discrimination power of each scale at .37-.77. The total reliability rate was at .95. The statistics for data analysis were Mean, Standard Deviation, t - test and one-way ANOVA. The findings are as follows; 1. The problems of students discipline in Phanatpittayakarn School, Chonburi Province, under the Secondary Education Service Area Office 18, overall each aspect, were found at a high level. 2. The problems of students discipline in Phanatpittayakarn School, Chonburi Province, under the Secondary Education Service Area Office 18 as classified by sex, class level and learning program and academic performance, in general and each aspect, are different without statistical significance. 3. The guidelines for the development of students discipline with regard include an urgent address of student dressing in appropriately in Phanatpittayakarn School under the Secondary Education Service Area Office 18 to improve the situation, teachers are suggested to spend more item suggesting and encouraging students to dress properly. In additional, this study also suggests teachers to act as good mentors and become correct role models for the students. The school should monitor and ensure students’ compliance.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.42 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น