กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7889
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สถาพร พฤฑฒิกุล | |
dc.contributor.advisor | ภารดี อนันต์นาวี | |
dc.contributor.author | เกษแก้ว เจริญเกตุ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T06:13:03Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T06:13:03Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7889 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน จังหวัดสิงห์บุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของ Krejcie and Morgan (1970, pp. 608-609) เป็นครูผู้สอน จำนวน 202 คน โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า 1. ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน จังหวัดสิงห์บุรี สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. ปัจจัยด้านผู้บริหาร ด้านครูผู้สอน ด้านงบประมาณ และด้านผู้ปกครองและชุมชนของโรงเรียน จังหวัดสิงห์บุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 3. ปัจจัยด้านผู้บริหาร ด้านครูผู้สอน ด้านงบประมาณ ด้านผู้ปกครองและชุมชนของโรงเรียน กับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน จังหวัดสิงห์บุรี สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 มีความสัมพันธ์ทางบวก โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ปัจจัยด้านผู้บริหาร ด้านครูผู้สอน ด้านงบประมาณ ด้านผู้ปกครองและชุมชนของโรงเรียนส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน จังหวัดสิงห์บุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 5. ตัวแปรพยากรณ์ที่สามารถร่วมกันทำนายผลของตัวแปรประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนจังหวัดสิงห์บุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 โดยเลือกตัวพยากรณ์ที่ดีที่สุดในการสร้างสมการ พบว่า การจัดการด้านการเรียนการสอน (X12) การพัฒนาผู้เรียน (X22) บทบาทของชุมชนในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษา (X42) การบริหารหลักสูตรและ การจัดการเรียนรู้ (X21) การจัดสรรงบประมาณ (X32) สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการได้ร้อยละ 38.40 สามารถร่วมกันทำนายได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยรูปแบบของสมการ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Y' = 2.846+0.097(X12)+0.137(X22)+0.102(X42)+0.083(X21)-0.053(X32) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Z' = 0.250(Z12)+0.367(Z22)+0.181(Z42)+0.189(Z21)-0.182(Z32) | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | โรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหาร | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา | |
dc.subject | วิชาการ -- การบริหาร | |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนจังหวัดสิงห์บุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 | |
dc.title.alternative | Fctors ffecting cdemic ffirs dministrtion effectiveness of schools in singburi province under the secondry eductionl service re office 5 | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study factors those affect academic affairs administration effectiveness of schools in Singburi province under the Secondary Educational Service Area Office 5. The research sample consisted of 202 teachers in Singburi province under the Secondary Educational Service Area Office 5, selected by stratified random sampling technique. Research instruments was a five scales rating questionnaire. The data were analyzed by using a computer program for the mean ( ), standard deviation (SD), Pearson Product-Moment Correlation Coefficient, multiple regression analysis and stepwise multiple regression analysis. Results of the study were as follows: 1. The administration effectiveness of schools in Singburi province under the Secondary Educational service area office 5 was found to be at a high level. 2. The factors of leadership, teachers, budget and parents was found to be at a high level. 3. The factors of leadership, teachers, budget, parents and administration effectiveness of schools correlated positively with the school effectiveness with school effectiveness at moderate level with statistically significant at .01 level 4. The factors of leadership, teachers budget, parents and school administration affected school effectiveness with statistical significant at .01 level 5. The multiple correlation of selective factors of administration effectiveness of schools were curriculums and learning management (X12) learner development (X22) community collaboration (X42) curriculum management and learning management (X21) and budget allocation (X32) all factors can predict administration effectiveness at 38.40% with statistical significant at level of .05 level. The Regression Equation of Row Score was; Y' = 2.846+0.097(X12)+0.137(X22)+0.102(X42)+0.083(X21)-0.053(X32) The Regression Equation of Standardized Score was: Z' = 0.250(Z12)+0.367(Z22)+0.181(Z42)+0.189(Z21)-0.182(Z32) | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารการศึกษา | |
dc.degree.name | กศ.ม. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.07 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น