กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7660
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorธนวิน ทองแพง
dc.contributor.advisorสุรัตน์ ไชยชมภู
dc.contributor.authorสุชาพร ประเสริฐชาติ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:19:08Z
dc.date.available2023-05-12T04:19:08Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7660
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 341 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบสำรวจรายการ และแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) โดยปัจจัยลักษณะงานของครู มีค่าอำนาจจำแนก .29-.83 ค่าความเชื่อมั่น .92 ปัจจัยประสบการณ์ในการทำงานของครู มีค่าอำนาจจำแนก .37-.81 ค่าความเชื่อมั่น .92 และความผูกพันต่อองค์การ ของครู มีค่าอำนาจจำแนก .39-.87 ค่าความเชื่อมั่น .95 และความผูกพันต่อองค์การของครู มีค่าอำนาจจำแนก .49-.84 ค่าความเชื่อมั่น .92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) และการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยลักษณะงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. ปัจจัยประสบการณ์ในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก 3. ปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก 4. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลกับความผูกพันต่อองค์กรของครู มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำ ปัจจัยลักษณะงานกับผูกพันต่อองค์กรของครู และปัจจัยประสบการณ์ในการทำงานกับผูกพันต่อองค์กรของครู มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 5. ปัจจัยประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านความคาดหวังที่ได้รับการตอบสนองจากหน่วยงาน (E3) ปัจจัยประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านทัศนคติต่อเพื่อนร่วมงานและองค์กร (E4) ปัจจัยประสบการณ์ ในการปฏิบัติงานด้านความรู้สึกว่าหน่วยงานเป็นที่พึ่งพิงได้ (E2) ปัจจัยลักษณะงานด้านความสำคัญของงาน (J3) ปัจจัยลักษณะงานด้านความมีอิสระในการทำงาน (J1) และปัจจัยประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านความรู้สึกว่าตนมีความสำคัญ (E1) ร่วมกันพยากรณ์ความผูกพันต่อองค์กรของครู มีค่าอำนาจพยากรณ์ร้อยละ 66.10 ดังสมการ Y = .739 + .118 (E3) + .262 (E4) + .192 (E2) + .089 (J3) + .099 (J1) + .074 (E1) Z = .158 (E3) + .319 (E4) + .256 (E2) + .102 (J3) + .110 (J1) + .094 (E1)
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ
dc.subjectครูมัธยมศึกษา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3
dc.title.alternativeFctors influencing the orgniztionl commitment of techers under the secondry eductionl service re office 3
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the study was to determine the factors influencing the organizational commitment of teachers schools under the Secondary Educational Service Area Office 3. The samples used in this study was 341 teachers in secondary school under the Office of Secondary Educational Service Area Office 3. The research instrument used for data collection was a Checklist and a five level rating scale questionnaire surveying of teachers’ work characteristic having the item discrimination power between .29-.83 and the reliability of .92. The factors of the work experience of this questionnaire has the discrimination between .37-.81 and the reliability of .92. The teachers' organization commitment have the item discrimination power between .39-.87 and the reliability of .95. Mean, Standard Deviation, Pearson’s product moment correlation coefficient and Stepwise Multiple Regression were used in analyzing the data. The results were as follows: 1. The factor of teachers’ work characteristics in overall was found at a high level. 2. The factor of work experience in overall was found at a high level. 3. The factor of teachers’ commitment in overall was found at a high level. 4. The relationship between teachers’ characteristics and organizational commitment factors was a negative relationship at a lower level. However, the relationship between the work characteristics factors and organization commitment of teachers, and the relationship between the experience in working factors and the organization commitment of teachers were found moderately and positively at 0.01 significant level. 5. The factors of experience in working in the area of expectation from the work place (E3), the factors of work experience in the area of attitudes towards colleagues and organizations (E4), the experience and belief that they could help from the schools (E2), the factors of attitude that work is important (J3), work characteristics in the freedom to work (J1) and the experience factor in the sense that they are important for their organization (E1). Could help predict teachers’ commitment, towards secondary school (66.10) as listed in the following order. The regressions equation in raw score regarding the teachers’ commitment towards the school was shown as follows: Y = .739 + .118 (E3) + .262 (E4) + .192 (E2) + .089 (J3) + .099 (J1) + .074 (E1) Z = .158 (E3) + .319 (E4) + .256 (E2) + .102 (J3) + .110 (J1) + .094 (E1)
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameกศ.ม.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.47 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น