กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7642
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประชา อินัง | |
dc.contributor.advisor | ชมพูนุท ศรีจันทร์นิล | |
dc.contributor.author | กุลวิณ ชุ่มฤทัย | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:16:54Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:16:54Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7642 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการปรึกษาแบบเน้นทางออกระยะสั้น ต่อผลการแก้ปัญหาเชิงสังคมของนิสิตชั้นปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนิสิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 16 คน โดยคัดเลือกจากนิสิตที่มีคะแนนการแก้ปัญหาเชิงสังคมต่ำกว่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 30 ทำการสุ่มอย่างง่าย เป็นกลุ่มทดลอง 8 คน และกลุ่มควบคุม 8 คน โดยใช้แบบแผนการวิจัยเชิงทดลองแบบทดสอบก่อน หลัง และติดตามผลโดยมีกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษากลุ่มทฤษฎีเน้นทางออกระยะสั้นเพื่อพัฒนาการแก้ปัญหาเชิงสังคม จำนวน 6 ครั้ง ครั้งละ 90 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้เข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินการแก้ปัญหาเชิงสังคม และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำประเภทหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่ม และหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่ม และทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยวิธีนิวแมนคูล ผลการศึกษา พบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นิสิตกลุ่มทดลองมีคะแนนการแก้ปัญหาเชิงสังคมสูงกว่านิสิตกลุ่มควบคุม ในระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนิสิตกลุ่มทดลองมีคะแนนการแก้ปัญหาเชิงสังคมในระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผลสูงกว่าระยะก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากผลการวิจัยนี้สรุปได้ว่า การปรึกษากลุ่มตามทฤษฎี การปรึกษาแบบเน้นทางออกระยะสั้นมีผลต่อการแก้ปัญหาเชิงสังคมของนิสิตชั้นปีที่ 1 ได้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา | |
dc.subject | การแก้ปัญหา -- คณิตศาสตร์ | |
dc.subject | การแก้ปัญหา | |
dc.title | ผลการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการปรึกษาแบบเน้นทางออกระยะสั้นต่อการแก้ปัญหาเชิงสังคมของนิสิตชั้นปีที่ 1 | |
dc.title.alternative | The effect of group counseling with solution-focused brief therpy on socil-problem solving of freshmen university students | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This experimental research aimed to study the effect of solution-focused brief group therapy on social problem-solving of freshmen university students. The subjects of this study were freshmen university students at Burapha University who had scored below the 30th percentile on the Social problem solving test. The subjects were randomly assigned into the intervention group (8 students) and the control group (8 students). The design of this study was pretest, posttest, and follow-up with the intervention group and the control group. Subjects in the intervention group received six, ninety-minute sessions of group solution-focused brief therapy, and those in the control group received no treatment. The social problem solving inventory–revised (SPSI–R) was used for data collection. Data of this research were analyzed by the method of repeated measures analysis of variance (one between-subjects variable and one within-subjects variable), and the differences between particular pairs of intervention and control groups were examined by the Newman-Keuls test. The results showed that there was an interaction between the method and the duration of the experiment at the significance level p>.05. There was a significant difference between subjects in the intervention and control groups in terms of mean score of SPSI-R in the posttest and follow-up phases (p>.05). In the intervention group, a significant difference was found between pre-test, post-test and follow-up test scores (p>.05). According to these results, solution-focused brief group counseling was effective in increasing the social problem solving levels of freshmen university students. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาการปรึกษา | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.79 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น