กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7604
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปริญญา ทองสอน | |
dc.contributor.advisor | ชูชาติ พิณพาทย์ | |
dc.contributor.author | วราภรณ์ พรมอินทร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:16:45Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:16:45Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7604 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนตกพรมวิทยาคาร จังหวัดจันทบุรี ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือ พร้อมทั้งศึกษาพฤติกรรมการทำงานกลุ่มร่วมกันระหว่างเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือและศึกษาเจตคติของนักเรียนต่อวิชาภาษาอังกฤษ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนตกพรม วิทยาคาร จังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 30 คนที่ได้มาโดยการเลือกแบบสุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือ(Collaborative strategic reading) จำนวน 6 แผน แบบทดสอบวัดความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่มร่วมกันและแบบวัดเจตคติของนักเรียนต่อวิชาภาษาอังกฤษ ใช้แบบแผนการวิจัยแบบ One-group pretest-posttest design สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. ความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนตกพรมวิทยาคาร จังหวัดจันทบุรี ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือ หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. พฤติกรรมการการทำงานกลุ่มร่วมกันระหว่างเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้กลวิธี การอ่านแบบร่วมมือ โรงเรียนตกพรมวิทยาคาร จังหวัดจันทบุรี อยู่ในระดับดีมาก 3. เจตคติของนักเรียนต่อวิชาภาษาอังกฤษที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธี การอ่านแบบร่วมมือ โดยรวมอยู่ในระดับมาก | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา) | |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การอ่าน | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน | |
dc.title | การพัฒนาความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือ Collaborative strategic reading | |
dc.title.alternative | Development of english reding comprehension for mttyomsuks 5 students using collbortive strtegic reding | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to compare English reading comprehension before and after learning by learning management using Collaborative Strategic Reading of Mattayomsuksa 5 students of Tokpromwittayakarn School, Changwat Chanthaburi and to study Group working behavior while the students are learning by using Collaborative Strategic Reading and to study attitude towards English. The sample consisted of 30 students in Tokpromwittayakarn School, Changwat Chanthaburi, in the second semester academic year 2018, under the Office of secondary Educational Service Area Office 17 , using Cluster Random Sampling. The research instruments were 6 lesson plans of using Collaborative Strategic Reading , English reading comprehension test , group working behavior observation and attitude inventory towards English forms. The design of this research was one group pretest-posttest design. The statistics used were percentage, mean, standard deviation and t-test. The results of the study were as follows: 1. The English reading comprehension of Mattayomsuksa 5 students of Tokpromwittayakarn School, Changwat Chanthaburi, posttest score of learning management by using Collaborative Strategic Reading, was significantly higher than pretest score at the .05 level. 2. The group working behavior during the studying by using Collaborative Strategic Reading of Mattayomsuksa 5 students of Tokpromwittayakarn School, Changwat Chanthaburi, were at the best level. 3. The attitude towards English of learning management by using Collaborative Strategic Reading were at positively good level. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | หลักสูตรและการสอน | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.5 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น