กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7596
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorถนอมศักดิ์ บุญภักดี
dc.contributor.advisorณรงค์ พลีรักษ์
dc.contributor.advisorกาญจนา หริ่มเพ็ง
dc.contributor.authorพลอยสิรินทร์ แสงมณี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:16:44Z
dc.date.available2023-05-12T04:16:44Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7596
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการติดตามสถานการณ์น้ำเสียในพื้นที่ชายฝั่งทะเลของจังหวัดชลบุรีโดยวิเคราะห์คุณภาพน้ำ – ปริมาณสารอาหาร (pH, อุณหภูมิ, ออกซิเจนละลายน้ำ , บีโอดี, ไนโตรเจนรวม, ฟอสฟอรัสรวม, ไนเตรท และแอมโมเนีย) ในน้ำทิ้งและน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ซึ่งเป็นแหล่งรองรับน้ำเสียจากชุมชน ร่วมกับการจำแนกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายแนวท่อรวบรวมน้ำเสียและจุดปล่อยทิ้ง น้ำเสียซึ่งจะนำข้อมูลมาวิเคราะห์ร่วมกัน ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์พบว่า น้ำทิ้งที่ไม่ผ่านการบำบัดจากโรงปรับปรุงคุณภาพน้ำมีปริมาณบีโอดีต่ำสุด-สูงสุดเท่ากับ 10.31-129.2 mg/l คุณภาพน้ำทิ้งที่ผ่านการบำบัดแล้วจากโรงปรับปรุงคุณภาพน้ำ (Effluent) เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน (กรมควบคุมมลพิษ, 2553) คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน พบว่า ทุกสถานีมีปริมาณบีโอดีและแอมโมเนีย (NH3 - ) สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน (ประเภทที่ 3) โดยภาพรวม โครงข่ายแนวท่อรวบรวมน้ำเสียในพื้นที่ชายฝั่งทะเลของจังหวัดชลบุรี พบว่าไม่ครอบคลุมพื้นที่บริการโดยเฉพาะพื้นที่ 1 (อบจ.จังหวัด ชลบุรี) และพื้นที่ 4 (เทศบาลเมืองศรีราชา) ทั้งสองแห่งมีปริมาณน้ำเข้าระบบบำบัดน้อยกว่า 50% ของความสามารถในการรองรับของระบบบำบัดสอดคล้องกับคุณภาพน้ำทิ้งและแหล่งน้ำผิวดินในพื้นที่ดังกล่าวอย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากท่อรวบรวมน้ำ เสียไม่สามารถนำน้ำเสียเข้าสู่โรงปรับปรุงคุณภาพน้ำได้น้ำเสียส่วนเกินรั่วไหลออกสู่สิ่งแวดล้อมทั้งการซึมลงในแหล่งน้ำใต้ดิน บางส่วนไหลลงสู่แหล่งน้ำผิวดินและระบายลงสู่ชายฝั่งทะเลในที่สุด
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectน้ำเสีย
dc.subjectน้ำเสีย -- เทคโนโลยีสารสนเทศ
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.titleการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการติดตามสถานการณ์น้ำเสียในพื้นที่ชายฝั่งทะเลของจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeAppliction of geoinformtion technology for monitoring wstewter sitution in the cost of Chonburi province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis paper aims to apply Geoinformation technology for monitoring wastewater situation in the coast of Chonburi Province. Water samples taken from surface waters receiving sewagefrom residential area and outflow pipes were analysed for pH, Temperature, DO, BOD, TN, TP, NO3 - and NH3 - . The highest BOD concentration flowing into coastal water was 129.2 mg/l at Walking Street, Pattaya. According to water quality standard, BOD in effluent samples from wastewater treatment plant was lower than standard for sanitary wastewater treatment, while BOD and NH3 - concentrations in surface water were higher than those of surface water quality standard (Class3). Land use, and structure of sewage network were integrated into all of those data by GIS. Sewage networks in the coast of Chonburi Province do not yet cover the studied area, especially for Chonburi andSriracha cities. Therefore, influent flowing to those wastewater treatment plants was only in 50% of capacity. However, deterioration of water quality of surface waters in Chonburi and Sriracha cities was clearly observed. It was due to poor coverage of sewage pipe networks huge causing a huge discharge of untreated municipal wastewater to coastal waters.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf7.95 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น