กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7567
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสฎายุ ธีระวณิชตระกูล
dc.contributor.advisorสุรีพร อนุศาสนนันท์
dc.contributor.authorสุปราณี จินดา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:14:50Z
dc.date.available2023-05-12T04:14:50Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7567
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนใน การบริหารเชิงกลยุทธ์ด้านการจัดการศึกษา เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี เป็นการวิจัยแบบผสม (Mixed method) ใช้วิธีวิจัยโดยการสนทนากลุ่ม (Focus group) ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 8 คน เทคนิคเดลฟาย (Delphi technique) ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 คน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) เป็นผู้ที่อยู่ในแวดวงการศึกษา 6 คน 2) เป็นผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ในสถาบันการศึกษา 6 คน และ 3) เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มี ส่วนร่วมทางการศึกษา 7 คน และ 2) เพื่อประเมินรูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนใน การบริหารกลยุทธ์ด้านการจัดการศึกษา เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี โดยดำเนินการประชาพิจารณ์ (Public hearings) ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมในการบริหารเชิงกลยุทธ์ด้านการจัดการศึกษา เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ได้รูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชน มีองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ 1) มีเป้าหมายชัดเจน 2) มีกิจกรรม 3) มีกลุ่มประชาชน 4) มีหน่วยงานของรัฐที่เชื่อมโยง กับการมีส่วนร่วมภายใต้กระบวนการ การบริหารเชิงกลยุทธ์ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ (1) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (2) การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (3) การนำแผนเชิงกลยุทธ์ไปปฏิบัติ (4) การประเมินแผนเชิงกลยุทธ์ และมีดัชนีตัวชี้วัด 175 ตัวบ่งชี้ 2. ผลการประเมินรูปแบบการพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนใน การบริหารเชิงกลยุทธ์ด้านการจัดการศึกษา เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี โดยการทำประชาพิจารณ์ จากประชาชนกลุ่มตัวอย่างทุกอาชีพในเมืองพัทยา จำนวน 1,100 คน พบว่า ประชาชนมากกว่า ร้อยละ 90 เห็นด้วยกับรูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารเชิงกลยุทธ์ด้านการจัดการศึกษา เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ว่ามีความเหมาะสม
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการบริหารเชิงกลยุทธ์
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectการจัดการศึกษา -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
dc.subjectการบริหารการศึกษา -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
dc.subjectการศึกษา -- การบริหาร
dc.titleการพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารเชิงกลยุทธ์ด้านการศึกษาเมืองพัทยาจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeA development model of public prticiption for strtegic mngement of eduction, Ptty city, Chon buri province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were; 1) to develop a model of public participation for strategic management of education, Pattaya city, Chon Buri province. Mixed method were applied using Focus Group with 8 professionals and Delphi Technique with 3 groups of experts consisted of (1) 6 experts in academic area (2) 6 experts in academic institutions and (3) 7 experts in educational participation, 2) to evaluate a model of public participation for strategic management of education, Pattaya city, Chon Buri province by applying Public Hearings. The results were that; 1. The development model of public participation for strategic management of education, consisted of 4 parts, they were; (1) a clear goal, (2) an activity, (3) a group of people and (4) governmental organizations. These parts also related to 4 procedures of strategic management which were (1) environmental analysis, (2) strategic planning, (3) performing strategic plan and (4) strategic plan’s evaluation. In total, there were 175 indexes. 2. The evaluation’s result of the development model from Public Hearings with 1,100 samples in every career group in Pattaya city was that more than 90% of people agreed that the development model of public participation for strategic management of education was appropriate.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.91 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น