กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7462
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชาญยุทธ กาฬกาญจน์ | |
dc.contributor.author | สุวิทย์ ปะสาวะเท | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:58:57Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:58:57Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7462 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (วศ.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวโน้มปริมาณนํ้ารวมเพื่อการอุปโภค-บริโภคในพื้นที่ และประเมินความแตกต่างระหว่างค่าใช้จ่ายการใช้นํ้าประปาขององค์การบริหารส่วนตําบล (อบต.) และ การประปานครหลวง (กปน.) จากการศึกษา พบว่า ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2555-2557 มีผู้ใช้นํ้าจํานวน 250 ครัวเรือน จํานวนราษฎร 1,056 คน ปัจจุบันมีจํานวนระบบประปาหมู่บ้านจํานวน 6แห่ง ที่อยู่ภายใต้การจัดการของ อบต. ค่าเฉลี่ยปริมาณนํ้าเพื่อการอุปโภค-บริโภค 65,500 ลบ.ม. ต่อปี หรือ 262 ลบ.ม. ต่อครัวเรือนต่อปี ต้นทุนการผลิตนํ้าประปาหมู่บ้านมีค่าอยู่ 3.38 ถึง 11.01 บาทต่อ ลบ.ม. แต่ราษฎร จ่ายค่านํ้าประปาหมู่บ้านที่อัตราคงที่ 5 บาทต่อลูกบาศกเมตร ซึ่งตํ่ากว่าต้นทุนการผลิตน้ำประปา ซึ่งในแต่ละปี อบต. ต้องจ่ายเงินอุดหนุนการดําเนินงาน นอกจากนั้นต้นทุนค่าใช้จ่ายการใช้นํ้าของ กปน. กำหนดอัตราคงที่ 8.5 บาทต่อลบ.ม. สําหรับ 1-30 ลบ.ม. แรก อัตราค่าใช้นํ้าของ กปน. ที่สูงกว่าค่านํ้าของ อบต. นั้น ทําให้ยากที่จะโน้มน้าวให้ประชาชนเปลี่ยนการใช้นํ้าประปาจากระบบของ อบต. ไปเป็น กปน. อัตราค่านํ้าที่สูงกว่านั้น อาจเป็นผลมาจากค่าการบริหารจัดการที่สูงเพื่อให้สามารถผลิตนํ้าประปาให้มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานนํ้าประปา แต่สิ่งที่สําคัญกว่านั้น คือ การอุปโภค-บริโภคนํ้าที่มีคุณภาพไม่เหมาะสมเป็นระยะเวลายาวนานอาจนําไปสู่ปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ดังนั้น จากข้อได้เปรียบ และข้อเสียเปรียบระหว่างระบบผลิตน้ำประปาของ อบต. และ กปน. ควรถูกชี้แจงในหลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นกับการใช้น้ำบาดาลเพื่อการอุปโภค-บริโภค กับการทรุดตัวของพื้นที่ข้อมูลดังกล่าวจะช่วยให้ประชาชนพิจารณาการใช้นํ้าของ กปน. เพื่อเป็นทางเลือกในการอุปโภค-บริโภค | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | น้ำประปา | |
dc.subject | การประปา -- ค่าใช้จ่าย | |
dc.subject | ค่าน้ำประปา | |
dc.subject | น้ำประปา -- การผลิต | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการงานก่อสร้างและงานโครงสร้างพื้นฐาน | |
dc.title | การศึกษาค่าใช้จ่ายของการใช้น้ำประปากรณีศึกษาพื้นที่หมู่ที่ 8 ตำบลศีรษะจรเข้ใหญ่ อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ | |
dc.title.alternative | The investigtion of wter supply cost in the re of villge no. 8, Sis Chorkhe Yi sub-district, Bng So Thong district, Smutprkn province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | According to the survey in village no. 8, Sisa Chorakhe Yai Sub-district, Bang Sao Thong District, Samut Prakan province, the tap water currently used within the village was supplied by sub-district Administrative Organization (SAO). The groundwater was used for the production of tap water, but it was found that the production process deviated from standard criteria. As a result, the quality of water was also below the standard requirements which may affect to human health and quality of life.Furthermore, since the land-subsidence rate in Samut Prakan province has been regarded as critically high, this province was recently categorized as critical zone. Therefore, the usage of ground water should be minimized and water supply within this area should be instead provided by Metropolitan Waterworks Authority (MWA). This study aimed to determine the trends in total water consumption in this area and to evaluate the difference between tap water expenses current of SAO and MWA. In addition, the tap water cost provided by MWA was fixed at the rate of 8.5 baht/cu.m. for the first 1-30 cu.m. The higher rate of MWA lead to the difficulty in convincing the local people to change the source of tap water from SAO to MWA. The higher rate may result from higher operation cost, in order to obtain standard quality of tap water. More importantly, long-term consumption of poor quality of water may lead to serious public health concerns. Thus, the advantages and disadvantages between tap water supplied by SAO and MWA should be further clarified in various aspects especially the effect of ground water consumption on land subsidence. This information can help people considering tap water provided by MWA as alternative source. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมการจัดการงานก่อสร้างและงานโครงสร้างพื้นฐาน | |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 7.97 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น