กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7461
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นพคุณ บุญกระพือ | |
dc.contributor.author | รุ่งธรรม ธรรมรักษ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:58:57Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:58:57Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7461 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติและปัจจัยที่ชุมชนมีต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคม ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการเพื่อศึกษาสิ่งที่ประชาชนคาดหวังและความต้องการที่จะได้จากการพัฒนาโครงการก่อสร้างต่าง ๆ การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน คือข้าราชการพนักงานส่วนตำบล สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน การคำนวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของ Yamane โดยกำหนดค่าของความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างเท่ากับร้อยละ 0.05 จากนั้นใช้การสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบวิธีการสุ่มตัวอย่างใชวิธีแบบ Simple random sampling จากประชากรในเขตตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ผลการวิจัยพบว่า ความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมในภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดเป็นประเด็นที่เกี่ยวกับโครงการก่อสร้างถนนมีการสร้างสาธารณูปโภคไปพร้อมกัน เช่น ระบบแสงสว่างรางระบายน้ำสะพานลอย ทางเท้า เป็นต้น ระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาประเด็นที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญลำดับรองลงมาได้แก่ การพัฒนาสาธารณูปโภคต่าง ๆ มีการกระจาย ตัวไม่ก่อให้เกิดการเจริญที่กระจุกอยู่เฉพาะย่านที่มีผู้อยู่อาศัยหรือย่านที่มีความเจริญและ สาธารณูปโภคที่เหมาะสม โดยโครงการต่าง ๆ ควรมีระบบแสงสว่างมีความสว่างเพียงพอระบบ ระบายน้ำสามารถระบายน้ำได้อย่างรวดเร็วไม่มีการท่วมขังทางเท้าพื้นเรียบเสมอเป็นต้น ซึ่งมีความสอดคล้องกับความจำเป็นของโครงสร้างพื้นฐานที่มีถนนโครงข่ายเชื่อมระหว่างชุมชนในเขต เทศบาลและตำบลข้างเคียง เพื่อใช้ในการขนส่งและสัญจรไปมา เพื่อติดต่อกันในด้านอื่น ๆ โครงสร้างพื้นฐานที่มีการคำนึงถึงปัจจัยความต้องการของชุมชนเข้ามาประกอบเป็นส่วนประกอบ หนึ่งที่สำคัญเพื่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนเป็นไปอย่างยั่งยืนต่อไป | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร -- ไทย -- สมุทรปราการ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรม -- กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการจัดการงานก่อสร้าง | |
dc.subject | โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ -- ไทย -- สมุทรปราการ | |
dc.subject | คมนาคม -- ไทย -- สมุทรปราการ | |
dc.title | การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมกรณีศึกษา : เขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ | |
dc.title.alternative | Influencing fctors effected to the development of trnsport infrstructure :bBngplee subdistrict dministrtion, Smutprkn s cse study | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to examine attitudes towards the community and development of transport infrastructure in the District Administration Bangphli, Samutprakan Province as case study. It is also to determine what the public need and expect to create a variety of development projects. The study is a survey research. The data collection was collected from a sample of 400 people, District officer, Members of Tambon Administration Organization of Bangkaew, village headman, assistant headman public. The numbers of sample size was calculated by using a Yamane’s theory. The expected value of level of significant used in this study was 0.05. Than a random sampling survey method was employed to collect the survey data from in District Administration Bangkaew Bangphli, Samutprakan province. The results of this study found that the factors that influence the development of transport infrastructure with highest level of significant is the road construction projects with completing infrastructure such as lighting system, pedestrian path, drainage system and pedestrian bridge. The second priority issue was the development of infrastructure that could decentralized both commercial and residential area such as the road network connection between the community and district side. Moreover, sufficient lighting, well drainage system with flood protection, smooth pedestrian walkway should be basic factors including in all infrastructure projects. Considering the community concerns is one of the significant factors that leads to the sustainable development. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการจัดการงานก่อสร้าง | |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.14 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น