กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7421
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.advisorสถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.authorปัทมา จันปัญญา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:55:25Z
dc.date.available2023-05-12T03:55:25Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7421
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางพัฒนาการจัดการแหล่งเรียนรู้ นอกห้องเรียนของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายวังบูรพา จังหวัดสระแก้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายวังบูรพา จังหวัดสระแก้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 จำนวน 201 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางพัฒนาการจัดการแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน มีค่าอำนาจการจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .23-.78 ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ .95 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที (t-test) การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และทดสอบรายคู่โดยใช้วิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัญหาการจัดการแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายวังบูรพา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ยกเว้น ด้านการดำเนินการใช้แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน อยู่ในระดับปานกลาง 2. ผลการเปรียบเทียบปัญหาการจัดการแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายวังบูรพา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 จำแนกตามเพศและประสบการณ์การทำงาน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ จำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยรวมและ รายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. แนวทางพัฒนาการจัดการแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายวังบูรพา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 ด้านการวางแผนการใช้แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน ควรจะต้องได้รับการจัดสรรงบประมาณสำหรับการสร้างและปรับปรุงแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน ด้านการดำเนินการใช้แหล่งเรียนรู้ ควรส่งเสริมให้ครูมีความรู้ในการใช้แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน ด้านการประเมินการใช้แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน ควรให้ครูและนักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินเพื่อที่ จะได้แนวทางในการปรับปรุงแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนที่หลากหลาย และด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ นอกห้องเรียนควรดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนให้สมบูรณ์พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectการศึกษานอกสถานที่
dc.subjectการศึกษาขั้นมัธยม -- กิจกรรมการเรียนการสอน
dc.subjectการศึกษานอกห้องเรียน
dc.titleการศึกษาปัญหาและแนวทางพัฒนาการจัดการแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายวังบูรพา จังหวัดสระแก้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7
dc.title.alternativeA study problems nd guided for development lerning sources outside the clssroom mngement of Wongburph cluster in Skeo province under the secondry eductionl service re office 7
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study problems and guidelines for the development of learning sources management outside classrooms of schools of Wangburapha cluster in Sakaeo province under the Secondary Educational Service Area Office 7 as classified by gender, work experience of teachers, and school size. The sample of the research was 201 teachers in Wangburapha cluster, Sakaeo province under the Secondary Educational Service Area Office 7. The research data was collected throughs five-rating scale questionnaire with the discrimination power between .23-.78 and the reliability of .95. The statistics applied in data analysis were Percentage, Mean, Standard Deviation (SD), t-test, One-way ANOVA, and Scheffe’s method. The findings were as follow: 1. The problems of learning sources management outside classrooms of school in Wangburapha cluster in Sakaeo province under the Secondary Educational Service Area Office 7, in overall and each aspect, were at a high level, except the practical use of learning resources outside the classroom which was at a middle. 2. Teachers with different genders and years of teaching experiences school their opinion towards learning resource management outside classrooms without statistically significant difference. 3. The guidelines for learning sources management outside the classroom in school under Wangburapha cluster in Sakaeo province under the Secondary Educational Service Area Office 7 in the part of planning to use of external room learning resources, need to be allocated budget in order to construct and improve the outside learning resources. For the practical use of external room learning resources, teachers should be encouraged to have knowledge on how to use learning resources. The assessment of the use of external room learning resources, this study suggests that teachers and students should have a chance to participate in it in order to get various ways to evaluate and improve the learning resources. Finally, in the development of learning resources outside classrooms, it is essential to improve and develop them to be perfect and available for use at all time.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameคณะศึกษาศาสตร์
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.35 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น