กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7381
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมุทร ชำนาญ | |
dc.contributor.advisor | สุรัตน์ ไชยชมภู | |
dc.contributor.author | วิศรุต เหล่ามาลา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:55:13Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:55:13Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7381 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบภาพลักษณ์ของโรงเรียน กบินทร์บุรี อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ตามการรับรู้ของผู้ปกครองนักเรียน จำแนกตาม ระดับชั้นของนักเรียน เพศ อาชีพ และระดับการศึกษาของผู้ปกครอง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ปกครอง นักเรียน โรงเรียนกบินทร์บุรี อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจาก ตารางของ Krejcie and Morgan (1970, p. 607) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 163 คน โดยสุ่มตัวอย่าง แบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) ตามระดับชั้นของนักเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ในครั้งนี้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .28-.70 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และเปรียบเทียบรายคู่โดยใช้เทคนิคเชฟเฟ่ (Scheffe’) ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาพลักษณ์ของโรงเรียนกบินทร์บุรี อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ตามการรับรู้ ของผู้ปกครองนักเรียน โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ซึ่งด้านความศรัทธามีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ด้านความเชื่อถือ และด้านการยอมรับ ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบภาพลักษณ์ของโรงเรียนกบินทร์บุรี อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ตามการรับรู้ของผู้ปกครองนักเรียน จำแนกตามระดับชั้นของนักเรียน และเพศของผู้ปกครอง โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อจำแนก ตามอาชีพ และระดับการศึกษาของผู้ปกครอง โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ภาพลักษณ์องค์การ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา | |
dc.subject | ผู้ปกครองกับเด็ก | |
dc.subject | โรงเรียนกบินทร์บุรี -- การบริหาร | |
dc.title | ภาพลักษณ์ของโรงเรียนกบินทร์บุรี อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ตามการรับรู้ของผู้ปกครองนักเรียน | |
dc.title.alternative | The imge of Kbinburi school, Kbinburi district, Prchinburi province, s perceived by prents | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to investigate and to compare the image of Kabinburi School, Kabinburi District, Prachinburi Province, as perceived by parents, classified by students' class level, and parents’ gender, occupation, and educational level. The sample of the study included the parents of the students at Kabinburi School, Kabinburi District, Prachinburi Province. Based on Krejice and Morgan’s Table of Sample Size (1970, p. 607), the sample of the study, derived by means of stratified random sampling, using students’ class level as a criterion, consisted of 163 persons. A 5-level rating-scale questionnaire, having the discriminating power between .28-.70 and the reliability at .94, was used as an instrument for data collection. Mean, standard deviation, t-test, One-way ANOVA, and paired comparison by Scheffe technique, were statistical devices employed for the data analysis. The findings revealed as follows: 1. The image of Kabinburi School, Kabinburi District, Prachinburi Province, as perceived by parents, both as a whole and in each particular aspect, was rated at a high level. Ranked from the highest mean score were the aspects of Faith, Reliability, and Recognition, respectively. 2. On the comparison of the image of Kabinburi School, Kabinburi District, Prachinburi Province, as perceived by parents, classified by students' class level, and parents’ gender, both as a whole and in each particular aspect, non-significant differences were found. However, significant differences at the level of .05 were found when being classified by parents’ occupation and educational level, both as a whole and in each particular aspect. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารการศึกษา | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.7 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น