กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7380
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorธนวิน ทองแพง
dc.contributor.advisorสถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.authorณัชพิมพ์ สืบเสนาะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:55:13Z
dc.date.available2023-05-12T03:55:13Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7380
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาและประสิทธิผลของสถานศึกษาในอำเภอเมือง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูในสถานศึกษาอำเภอเมือง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ปีการศึกษา 2560 โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางกำหนดขนาด กลุ่มตัวอย่างของ Krejcie and Morgan (1970, pp. 607-608) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 257 คน ซึ่งสุ่มแบบ แบ่งชั้น (Stratified random sampling) ตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการ ของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .35-.79 และมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .96 แบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลของสถานศึกษา มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .34-.75 และมีค่า ความเชื่อมั่น เท่ากับ .94 ได้แก่ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (SD) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอเมือง สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 โดยรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2. ประสิทธิผลของสถานศึกษาในอำเภอเมือง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ระยอง เขต 1 โดยรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 3. ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของ สถานศึกษาในอำเภอเมือง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 โดยรวมและ รายด้านมีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการบริหารการศึกษา -- ไทย -- ระยอง
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน (ประถมศึกษา) -- ไทย -- ระยอง
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษาในอำเภอเมือง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1
dc.title.alternativeThe reltionship between the cdemic dministrtion nd the effectiveness of schoolsin mphoe mung under the Ryong primry eductionl service re office 1
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the relationship between the academic administration and the effectiveness of schools in Amphoe Muang under the Rayong Primary Educational Service Area Office 1. The sample included teachers in schools in Amphoe Muang under the Rayong Primary Educational Service Area Office 1, in the academic year of 2017. The sample size was based on Krejcie and Morgan Sample Size Table (1970, pp. 607-608), derived by means of stratified random sampling, according to size of school, consisted of 257 teachers. The instrument used to collect the data was a questionnaires using a 5 level scale on the academic administration. Its item discrimination power was between .35 and .79 and its reliability was .96 and the questions on the effectiveness of schools had item discrimination power between .34 and .75 and its reliability was .94. The statistics used in the analysis were Means ( ), Standard Deviation (SD) and Pearson’s product moment correlation coefficient. The findings were as the followings: 1. The academic administration of school Administrators in Amphoe Muang schools under the Rayong Primary Educational Service Area Office 1, both as a whole and in each aspect, were rated at a high level.. 2. The effectiveness of the schools in Amphoe Muang under the Rayong Primary Educational Service Area Office 1, both as a whole and in each aspect, were rated at a high level. 3. The relationship between the academic administration and the effectiveness of schools, as a whole, was found positively related at a very high level with the significance level of .01.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.44 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น